1. ประเภทข้าราชกาล
1.1. 3 กลุ่ม
1.1.1. ที่ปรึกษาทั่วไป
1.1.1.1. มีเพียง 3 คนที่รับตำแหน่งนี้
1.1.1.1.1. Rolin Jaequemyns
1.1.1.1.2. Edward Strobel
1.1.1.1.3. Jens leverson
1.1.1.2. function
1.1.1.2.1. เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของประเทศ
1.1.1.2.2. ประสารการดำเนินการกับเสนาบดีกระทรวงต่างๆ
1.1.2. ที่ปรึกษากระทรวงแลพกรมต่างๆ
1.1.2.1. แยกอยู่หลายกระทรวง
1.1.2.1.1. กระทรวงการคลัง
1.1.2.1.2. กระทรวงต่างประเทศ
1.1.2.1.3. กระทรวงยุติธรรม
1.1.2.1.4. กระทรวงเกษตราธิการ
1.1.2.1.5. กระทรวงศึกษาธิการ
1.1.2.2. สิ่งที่ทำ
1.1.2.2.1. ทำงานตามตำแหน่ง
1.1.2.2.2. คอยปรึกษาระหว่างปรึกษาเสนาบดีและเจ้ากรมชาวต่างชาติ
1.1.3. ข้าราชกาลต่างชาติประจำกรมต่างๆ
1.1.3.1. หน่วยงานในสังกดกระทรวงมหาดไทย
1.1.3.2. หน่วยงานในสังกดกระทรวงการคลัง
1.1.3.3. หน่วยงานในสังกดกระทรวงเกษตราธิการ
1.1.3.4. หน่วยงานในสังกดกระทรวงโยธาธิการ
1.1.3.5. หน่วยงานในสังกดกระทรวงกลาโหม
1.1.3.6. หน่วยงานในสังกดกระทรวงนครบาล
2. ปัญหาและอุปสรรค
2.1. ปัญหาชาวไทย
2.1.1. ปัญหาผู้บริหาร
2.1.1.1. บุคคลมากกว่าผลงาน
2.1.1.2. บางคนเป็นพวกอนุรักษ์นิยม
2.1.2. ปัญหาทางนโยบาย
2.1.2.1. จำกัดขอบเขตุข้าราชกาลต่างชาติ
2.2. ปัญหาของชาวต่างชาติ
2.2.1. ปัญหาแสวงหาผลประโยชณ์ของชาวต่างชาติ
2.2.2. เงินเดือนสูง
3. มูลเหตุการว่าจ้าง
3.1. ส่งเสริมเสถียรภาพของบ้านเมือง
3.2. เพื่อการรอดพ้นจากจักวรรคนิยม
3.3. เพื่อช่วยให้ชาวต่างชาติมาแนะนำ
3.3.1. นโยบาย
3.3.2. กฎหมาย
3.3.3. ปรับปรุงสิ่งต่างๆให้มีความทันสมัย
4. นโยบายการว่าจ้าชาวต่างชาติ
4.1. รัฐบาลเป็นคนเลือกผู้มี่จะมาเป็นข้าราชกาล
4.1.1. เป็นคำสั่งของร.5
4.1.2. มี4ชาติหลักๆที่ได้รับการว่าจ้าง
4.1.2.1. ฝรั่งเศส
4.1.2.1.1. ยกเลิกการว่าจ้างเมื่อ ร.ศ.112 เพราะมีความขัดแย้งกัน
4.1.2.1.2. กลับมาว่าจ้างใหม่ด้วย อนุสัญญาฉบับพ.ศ.2447
4.1.2.1.3. เพื่อความปลอดภัย
4.1.2.2. อังกฤษ
4.1.2.2.1. ด้วยความที่ชาวอังกฤษหลายคนมีความคุ้นชินสภาพภูมิ อากาศและสิ่งต่างๆทำให้สามาถทำงานกันได้อย่างราบลื่น
4.1.2.2.2. ต้องโอนอ่อนให้อังกฤษโดยนโยบายBlending with the wind
4.1.2.2.3. เพื่อความปลอดภัย
4.1.2.3. อเมริกา
4.1.2.3.1. มีค้าราชกาลในหลายตำแหน่ง
4.1.2.3.2. ไม่มีผลประโยชณ์ด้านการเมืองในสยาม