พื้นฐานทางสังคม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พื้นฐานทางสังคม by Mind Map: พื้นฐานทางสังคม

1. การจัดระเบียบทางสังคม

1.1. องค์ประกอบ

1.1.1. บรรทัดฐาน

1.1.1.1. ประเภทของบรรทัดฐาน

1.1.1.1.1. วิถีประชา

1.1.1.1.2. จารีต

1.1.1.1.3. กฎหมาย

1.1.1.2. บรรทัดฐานประเภทอื่นๆ

1.1.1.2.1. สมัยนิยม

1.1.1.2.2. ความนิยมชั่วครู่

1.1.1.2.3. พิธีการ

1.1.1.2.4. พิธีกรรม

1.1.1.2.5. ความคลั่งไคล้

1.1.1.3. บรรทัดฐานกับการควบคุมทางสังคม

1.1.2. สถานภาพ

1.1.2.1. ประเภทของสถานภาพ

1.1.2.1.1. ราล์ฟ ลินตัน แบ่งได้ 2 ประเภท

1.1.2.1.2. ลักษณะทั่วไปของสถานภาพ

1.1.3. บทบาท

1.1.3.1. ลักษณะทั่วไป

1.1.3.1.1. บทบาทหลายบทบาทจะอยู่ในบุคคลคนเดียวกัน

1.1.3.1.2. บทบาทจะมีการเปลี่่ยนแปลงตามภาวะของสังคม

1.1.3.1.3. บทบาททาจขัดแย้งกันได้

1.1.3.2. ปัญหาเกี่ยวกับบทบาท

1.1.3.2.1. ไบซันส์ และไบซันส์

2. วัฒนธรรม

2.1. ความหมาย

2.2. ประเภท

2.2.1. วัฒนธรรมทางวัตถุ

2.2.2. วัฒนธรรมที่ไม่ใช่ทางวัตถุ

2.3. สภาวัฒนธรรม แบ่งประเภทได้ 4 ประเภท

2.3.1. คติธรรม

2.3.2. เนติธรรม

2.3.3. สหธรรม

2.3.4. วัตถุธรรม

2.4. ลักษณะ

2.4.1. เป็นสิ่งที่ได้มาโดยการเรียนรู้

2.4.2. เป็นมรดกทางสังคม

2.4.3. เป็นวิถีชีวิต

2.4.4. เป็นสิ่งที่ไม่คงที่

2.5. ลักษณะของวัฒนธรรมไทย

2.5.1. การมีศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติ

2.5.2. การมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

2.5.3. อักษรไทยและภาษาไทย

2.5.4. ประเพณีไทย

2.5.5. วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต

2.5.6. ศิลปกรรมของไทย

2.5.7. จรรยามารยาทและจิตใจของไทย

2.5.8. การพักผ่อนย่อนใจของคนไทย

2.6. อิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีต่อสังคม

2.6.1. กำหนดรูปแบบของสถาบันครอบครัว

2.6.2. กำหนดแบบแผนความประพฤติ

2.6.3. ควบคุมสังคม

2.6.4. สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคม

2.6.5. กำหนดรูปแบบของที่อยู่อาศัย

2.6.6. กำหนดชนิดของอาหารที่รับประทาน

2.6.7. เป็นเครื่องแสดงเอกลักษณ์ของชาติไทย

2.7. ปัญหาทางสังคม

2.7.1. ความล้าหลังทางวัฒนธรรม

2.7.2. การตื่นตระหนึกของวัฒนธรรม

2.7.3. การมีอคติต่อวัฒนธรรมของสังคมอื่น

2.7.4. ช่องว่างทางวัฒนธรรม

3. ความหมายของสังคม

3.1. ผู้ที่ให้ความหมายคล้ายคลึงกัน

3.1.1. ณรงค์ เส็งประชา

3.1.2. สุพิศวง ธรรมพันทา

3.1.3. โฮล์ท

3.1.4. สุดา ภิรมย์แก้ว

4. หน้าที่ของสังคม

4.1. การผลิตสินค้าและการกระจายสินค้าบริการต่างๆ

4.1.1. ได้แก่ สถาบันเศรษฐกิจ

4.2. การผลิตสมาชิกใหม่ของสังคม

4.2.1. ได้แก สถาบันครอบครัว

4.3. การสร้างและรักษาระเบียบกฏเกณฑ์ของสังคม

4.3.1. ได้แก่ สถาบันการปกครอง

4.4. การสร้างความรู้สึกมั่นคงทางจิตใจของสมาชิก

4.4.1. ได้แก่ สถาบันศาสนา

4.5. การให้การศึกษาและอบรมถ่ายทอดวัฒนธรรม

4.5.1. ได้แก่ สถาบันการศึกษา

5. ประเภทของสังคม

5.1. เฟอร์ดินันด์ แบ่งออกเป็น 2 แบบ

5.1.1. สังคมแบบปฐมภูมิ

5.1.2. สังคมแบบทุติยภูมิ

5.2. เลนสกีและเลนสกี แบ่งออกเป็น 5 แบบ

5.2.1. สังคมล่าสัตว์และเก็บอาหาร

5.2.2. สังคมแลี้้ยงสัตว์

5.2.3. สังคมพิชสวน

5.2.4. สังคมกสิกรรม

5.2.5. สังคมอุตสาหกรรม

6. ค่านิยม

6.1. ชนิดของค่านิยม

6.1.1. ค่านิยมทางวัตถุ

6.1.2. ค่านิยมทางสังคม

6.1.3. ค่านิยมทางจริยธรรม

6.1.4. ค่านิยมทางความคิด

6.1.5. ค่านิยมทางสุนทรียภาพ

6.1.6. ค่านิยมทางศาสนา

6.2. ค่านิยมที่ควรยึดถือปฎิบัติ

6.2.1. การพึ่งตนเอง

6.2.2. การประหยัดอดออม

6.2.3. การมีระเบียบวินัยและการเคารพกฎหมาย

6.2.4. การปฎิบัติตามคุณธรรมของศาสนา

6.2.5. ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์