Electrochemistry

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Electrochemistry by Mind Map: Electrochemistry

1. การดุลสมการรีดอกซ์

1.1. สารตั้งต้น --> ผลิตภัณฑ์

1.1.1. • ดุลทั้งจำนวนอะตอม ซ้าย = ขวา • ดุลจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้ (ใน oxidation) = อิล็กตรอนที่รับ (ใน Reduction) • ดุลจำนวนประจุไฟฟ้า ซ้าย = ขวา

2. New node

3. การศึกษาเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นพร้อมกับ การไหลของอิเล็กตรอน หรือกระแสไฟฟ้า

3.1. Galvanic Cell การศึกษาถึงปฏิกิริยาเคมีที่ทำ ให้มีการไหลของกระแสไฟฟ้า เซลล์ไฟฟ้า

3.2. Electrolytic Cell กระบวนการเกิดปฏิกิริยา หรือ การเปลี่ยนแปลงทางเคมีโดย อาศัยพลังงานไฟฟ้าจากภายนอก

4. ปฏิกิริยารีดอกซ์ (ปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชัน)

4.1. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน = ปฏิกิริยาที่มีการให้ e- (เสีย e-) Ox no. เพิ่ม

4.1.1. ตัวรีดิวซ์ ให้ e-

4.1.1.1. ตัวรีดิวซ์อยู่ในปฏิกิริยา Oxidation

4.2. ปฏิกิริยารีดักชัน = ปฏิกิริยาที่มีการรับ e- Ox no. ลด

4.2.1. ตัวออกซิไดซ์ รับ e-

4.2.1.1. ตัวออกซิไดส์อยู่ในปฏิกิริยา Reduction

5. กฎเกณฑ์การพิจารณา Ox no.

5.1. 1. อะตอมของธาตุต่างๆ ในสภาวะอิสระ มีOx no. = 0 ไม่ว่าธาตุนั้นจะอยู่ใน รูปอะตอมเดี่ยวหรือหลายอะตอม Ex. Zn, Ag, Hg, Cl2, H2, P4, S8

5.2. 2. ไอออนที่มีอะตอมเดี่ยวจะมีOx no.= ประจุของไอออนนั้น Ex. Na+, Cl-, Al3+ , S2-

5.3. 3. ในสารประกอบ กฎเกณฑ์การพิจารณา Ox no. โลหะหมู่IA Ox no. = +1 เสมอ โลหะหมู่IIA Ox no. = +2 เสมอ โลหะหมู่IIIA Ox no. = +3 เสมอ

5.3.1. O Ox no. = -2 ยกเว้น ใน peroxide Ex. H2O2, Na2O2 H Ox no. = +1 ยกเว้น ในโลหะไฮไดร์ Ex. LiH, CaH2

5.4. 4. ผลรวมทางพีชคณิตของ Ox no. ของอะตอมทั้งหมดในสูตรเคมีใดๆ จะมีค่า = ประจุสำหรับกลุ่มของอะตอมที่เขียนแสดงในสูตรนั้น

6. ปฏิกิริยารีดอกซ์

6.1. ตัวรีดิวซ์

6.1.1. ให้อิเล็กตรอน มีเลข Oxidation number เพิ่มขึ้น ทำหน้าที่รีดิวซ์ ถูกออกซิไดส์ อยู่ในปฏิกิริยา Oxidation

6.2. ตัวออกซิไดส์

6.2.1. รับอิเล็กตรอน มีเลข Oxidation number ลดลง ทำหน้าที่ออกซิไดส์ ถูกรีดิวซ์ อยู่ในปฏิกิริยา Reduction

7. เลขออกซิเดชัน (Oxidation number, Ox no.)

7.1. § เป็นตัวเลขของธาตุที่แสดงถึงจำนวนของ e- ที่ให้หรือรับ § ส่วนใหญ่เป็นเลขจำนวนเต็ม ( 0, 1, 2, 3, ... ) § เครื่องหมายเป็น + หรือ - ก็ได้

8. หลักในการพิจารณาเลขออกซิเดชันของธาตุในสารประกอบ

8.1. มักจะระบุเลขออกซิเดชันของธาตุที่มักจะมีเลขออกซิเดชันที่แน่นอนก่อน เช่น โลหะหมู่ IA, IIA, IIIA, O และ H จากนั้นจึงค่อยคิดเลขออกซิเดชันของธาตุอื่นๆ ต่อไป โดยคำนวณจาก ผลรวมทางพีชคณิตของเลขออกซิเดชันจะมีค่าเท่ากับประจุของสารนั้น ตามกฏข้อสุดท้าย

9. การพิจารณาว่าเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์หรือไม่

9.1. ปฏิกิริยารีดอกซ์ เป็นปฏิกิริยาที่สารในปฏิริยามีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน

9.1.1. เลขออกซิเดชัน Redox

9.1.1.1. Cu (s) + 2 Ag+ (aq) ---> Cu2+ (aq) + 2 Ag (s)

9.1.2. เลขออกซิเดชัน Non-redox

9.1.2.1. HCl (aq) + NaOH (aq) ---> NaCl (aq) + H2O (l)

10. การดุลสมการรีดอกซ์มี 2 วิธี

10.1. โดยวิธีการเปลี่ยน Ox no.

10.1.1. • ดุลทั้งจำนวนอะตอม • ดุลจำนวนประจุไฟฟ้า : ทำให้ e- ที่ถ่ายเทใน Oxidation = ใน Reduction

10.1.2. 1. ตรวจสอบ Ox no. ของธาตุทุกตัวในปฏิกิริยา 2. ดุลธาตุที่มี Ox no. เปลี่ยนไป 3. พิจารณาว่า ตัวรีดิวซ์ให้ e- ?, ตัวออกซิไดส์รับ e- ? 4. ทำจำนวน e- ที่ให้และรับ ให้เท่ากัน โดยคูณด้วย สปส 5. ตรวจสอบประจุไฟฟ้าทั้งสองฝั่ง ถ้าไม่เท่ากัน ให้ - เติม สปส หน้า H+ กรณี สลล กรด - เติม สปส หน้า OH- กรณี สลล เบส 6. ดุลจำนวน O และ H ให้เท่ากัน โดยการเติม สปส หน้า H2O 7. Check จำนวนอะตอม และ ประจุ ทั้ง 2 ข้างให้เท่ากัน

10.1.3. Check Ox.no. Check e- Check charge (H+, OH-) Check OH (H2O)

10.2. โดยวิธีครึ่งปฏิกิริยา