บรรณาธิการแฟชั่น (Fashion Editor)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บรรณาธิการแฟชั่น (Fashion Editor) by Mind Map: บรรณาธิการแฟชั่น  (Fashion Editor)

1. ลักษณะของงานการเป็น บรรณาธิการแฟชั่น (Fashion Editor)

1.1. 1. นักเขียนด้านแฟชั่นและบรรณาธิการแฟชั่นมัก ต้องทำงานควบคู่กับสไตลิสต์ หรือบางคนก็ เป็นทั้งสองอย่างโดยสังกัดนิตยสารเป็นหลัก

1.2. 2. มีหน้าที่เกาะเทรนด์ติดหนึบ เรียนรู้สไตล์ใหม่ๆ เทคนิคการแต่งตัวแบบต่างๆ การอำพราง ปกปิด มิกซ์ แอนแมทช์

1.3. 3. หมั่นอัพเดทเทรนด์การแต่งตัวของเหล่าคนดัง

1.4. 4. มีคลังข้อมูลแฟชั่นแบบเหลือเฟือ

1.5. 5. อาชีพนี้เหมาะสำหรับคนชอบขีด ชอบเขียน ชอบดู และชอบจำ เรียกว่ามีแฟชั่นอยู่ในสายเลือดเลยทีเดียว

2. ความสนใจในงานด้าน (Fashion Editor)

2.1. อาชีพนี้ฉากหน้าได้แต่งตัวสวยไปเฉิดฉาย ตามปาร์ตี้เริ่ดๆ แต่ฉากหลังทำงานหัวฟูแล้วแต่สังกัด ได้ทั้งนิตยสาร กองถ่าย และแบรนด์เสื้อผ้าต่างๆ ซึ่งส่วนตัวเป็นคนที่ชื่นชอบด้านแฟชั่นส่วนตัวอยู่แล้ว ยิ่งถ้าได้ออกแบบนิตยสารไปในตัวจะชอบมาก

3. การทำงานนี้มีแนวทางในการพัฒนาวิชาชีพอย่างไร

3.1. Fashion Editor จำเป็นต้องเรียนรู้ และปรับสไตล์ ในการทำงานส่วนตัวให้เข้ากับอัตลักษณ์ของนิตยสาร แต่ละเล่มด้วย และนี่ก็คือหัวใจที่นิตยสาร และต้องมีความรู้เรื่องสไตล์ต่างๆ ทั้งเสื้อผ้า หน้า ผม เกาะติดเทรนด์ยิ่งกว่าตุ๊กแก

4. การทำงานนี้ได้ร่วมทำงานกับฝ่ายอื่นอย่างไร

4.1. Fashion Editor สามารถทำงานรวมกับหลาย ฝ่ายมากเพื่อให้นิรยสารออกมาดีที่สุดโดยทั่วไปแล้วกองบรรณาธิการนิตยสาร จะประกอบไปด้วย บรรณาธิการบริหาร (Editor-in-Chief) ทำหน้าที่ตัดสินใจและควบคุมทิศทางการนำเสนอ ผู้อำนวยการฝ่ายศิลป์ (Art Director) มีหน้าที่ดูแลการจัดรูปเล่มทั้งหมด บรรณาธิการบทความ (Feature Editor) ดูแลเรื่องบทความทั้งหมด นิตยสารก็ยังต้องมีสไตลิสต์ (Stylist) นักเขียน (Writer) และกราฟิกดีไซเนอร์ (Graphic Designer) เป็นทีมงานพื้นฐานอีกด้วย

5. ตำแหน่งสูงสุดของสายงานนี้คืออะไร

5.1. บรรณาธิการบริหาร (Editor-in-Chief) ทำหน้าที่ตัดสินใจและควบคุมทิศทางการ นำเสนอของนิตรยสารทุกเล่ม

6. สายงานนี้เป็นประโยชน์กับประเทศชาติอย่างไร

6.1. เป็นงานที่พัฒนาด้าน Fashion ให้ทันสมัยอยู่เสมอ และรวมไปถึงด้านการพัฒนาด้านนิตยสาร