Get Started. It's Free
or sign up with your email address
WAVE by Mind Map: WAVE

1. คลื่นเสียง

1.1. มีสมบัติเป็นคลื่น

1.1.1. การหักเห

1.1.1.1. กฎการหักเห : n1sin θ1 = n2sinθ2

1.1.1.1.1. เช่น การเกิดฟ้าแลบแล้วไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง

1.1.2. การแทรกสอด

1.1.2.1. รวมกันแบบเสริม เรียก บัพ

1.1.2.2. รวมกันแบบหักล้าง เรียก ปฏิบัพ

1.1.3. การเลี้ยวเบน

1.1.4. การสะท้อน

1.1.4.1. มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน

1.1.4.1.1. ทำให้เกิดเสียงก้อง

1.2. เสียงและอุณหภูมิ

1.2.1. vt = 331 + 0.6t

1.3. การหาระยะทางของการสะท้อนของเสียง

1.3.1. s = vt/2

1.4. การหาความถี่ของคลื่นลัพธ์

1.4.1. f1+f2/2 ; ค่าเฉลี่ยของความถี่

1.5. ความถี่บีสต์

1.5.1. fb = | f2 - f1 |

1.6. ความยาวคลื่น

1.6.1. λ = 2l / n

1.7. การหาความเร็วของคลื่นตามขวาง

1.7.1. v = √t/√u

2. แสงและทัศนูอุปกรณ์

2.1. สมบัติของแสง

2.1.1. เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง และจะเขียนแทนด้วย รังสีของแสง

2.1.2. แสงเดินทางในสุญญากาศด้วยอัตราเร็ว 3 x 108 เมตรต่อวินาที

2.1.3. เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ไม่ต้องอาศยตัวกลางในการเคลื่อนที่

2.1.4. เป็นคลื่นตามขวาง เพราะสามารถเกิดโพลาไรซ์ได้

2.2. การวัดอัตราเร็วของแสง

2.2.1. c = D/DT

2.2.2. c = 4ndf

2.3. การสะท้อนของแสง

2.3.1. รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน และเส้นแนวตั้งฉากต้องอยู่ในระนาบเดียวกัน

2.3.2. มุมตกกระทบ(qi ) เท่ากับมุมสะท้อน (qr ) ณ ตำแหน่งที่แสงตกกระทบ

2.4. ภาพในกระจกเงาราบ

2.4.1. การเกิดภาพเกิดจากการที่รังสีสะท้อนไปตัดกัน ซึ่งสามารถแบ่งชนิดของภาพได้เป็นสองแบบ

2.4.1.1. ภาพจริง เป็นภาพที่เกิดจากรังสีสะท้อนไปตัดกันจริงๆ

2.4.1.2. ภาพเสมือน เป็นภาพที่เกิดจากรังสีสะท้อนไปตัดกันไม่จริง

2.4.2. ระยะภาพ = ระยะวัตถุ

2.4.3. ขนาดภาพ = ขนาดวัตถุ

2.4.4. การขยาย = [ระยะภาพ /ระยะวัตถุ] = [ขนาดภาพ /ขนาดวัตถุ] = m = (S/ / S) = (Y/ / Y)

2.5. ภาพที่เกิดจากการสะท้อนบนกระจกผิวโค้งทรงกลม

2.5.1. เลนส์เว้า

2.5.1.1. วัตถุอยู่เลยจุด C ออกไปจะได้ภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุ ระยะวัตถุ S > R ระยะภาพจะเกิดที่ R > S/ > f

2.5.1.2. วัตถุอยู่ที่จุด C จะได้ภาพจริงหัวกลับที่เดียวกับวัตถุ และขนาดเท่าวัตถุ ระยะวัตถุ S =R ระยะภาพจะเกิดที่ S = R

2.5.1.3. วัตถุอยู่ระหว่างจุด C กับ F จะได้ภาพจริงหัวกลับขนาดโตกว่าวัตถุ ระยะวัตถุ R > S > f ระยะภาพจะเกิดที่ S > R

2.5.1.4. วัตถุอยู่ระหว่างกระจกกับจุด F จะได้ภาพเหมือนขนาดโตกว่าวัตถุ ระยะวัตถุ S > f ระยะภาพจะเกิดที่ หลังกระจก

2.5.1.5. :วัตถุอยู่ที่จุด F จะได้ภาพที่ระยะอนันต์ ระยะวัตถุ S = f ระยะภาพจะเกิดที่ ระยะอนันต์

2.5.2. เลนส์นูน

2.5.2.1. จะได้ภาพเหมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุเสมอ ไม่ว่าวัตถุจะอยู่ตรงไหนของหน้ากระจก

2.6. การหักเหของแสง

2.6.1. มิราจ

2.6.2. รุ้งกินน้ำ

2.6.3. รังสีตกกระทบ เส้นแนวฉาก และรังสีหักเห อยู่ในระนาบเดียวกัน

2.6.4. สำหรับตัวกลางคู่หนึ่ง ๆ อัตราส่วนระหว่างค่า sin ของมุมตกกระทบ ในตัวกลางหนึ่งกับ ค่า sin ของมุมหักเหในอีกตัวกลางหนึ่ง มีค่าคงที่เสมอ

2.6.5. ดัชนี้หักเห

2.6.5.1. n = c/v

2.7. ทัศนอุปกรณ์

2.7.1. แว่นขยาย

2.7.1.1. การที่ตามองเห็นวัตถุมีขนาดใหญ่หรือเล็กขึ้นอยู่กับขนาดของภาพที่ตกบนเรตินา ซึ่งขึ้นอยู่ กับมุม ที่วัตถุรองรับลูกตา ถ้ามุมที่รองรับวัตถุมาก ภาพที่เกิดบนเรตินา จะมีขนาดใหญ่

2.7.2. กล้องจุลทรรศน์

2.7.2.1. กล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้เรามองเห็นวัตถุที่มีขนาดเล็กมาก ประกอบด้วยเลนส์นูนความยาวโฟกัสสั้น ๆ 2 อัน โดยเลนส์อันหนึ่งอยู่ใกล้วัตถุเรียกว่าเลนส์ใกล้วัตถุ (Objective Lens) และเลนส์อันหนึ่งอยู่ใกล้ตาเรียกว่าเลนส์ใกล้ตา(Eyepiece Lens) โดยความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุน้อยกว่าความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้ตามาก

2.7.3. กล้องโทรทรรศน์

2.7.3.1. กล้องโทรทัศน์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ดูวัตถุที่อยู่ไกล ประกอบด้วยเลนส์ 2 เลนส์ มี 2 ประเภท คือ ก. กล้องโทรทรรศน์หักเห (Refracting telescope) ใช้เลนส์นูนเป็นเลนส์ใกล้วัตถุมีความยาวข.โฟกัสมากอาจจะถึงหลาย ๆ เมตร กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง (Reflecting telescope) ใช้กระจกเว้ารูปพาราโบลาที่ไม่มีความคลาดเป็นตัวสะท้อนแสงใกล้วัตถุ ภาพที่ได้เกิดขึ้นที่ จุดโฟกัสใช้กระจกนูนเป็นตัวสะท้อนครั้งที่สอง เกิดภาพเสมือนขนาดขยาย

3. แสงเชิงฟิสิกส์

3.1. การแทรกสอดของแสง

3.1.1. เกิดได้ต่อเมื่อคลื่นแสง 2 ขบวนเคลื่อนที่มาพบกัน จะเกิดการรวมตัวกันและแทรกสอดกันเกิดเป็นแถบมืดและแถบสว่างบนฉาก

3.1.2. สมการการแทรกสอดของแสง

3.1.2.1. S2P - S1P = d sinθ

3.2. การเลี้ยวเบนของแสง

3.2.1. พิจารณาการเลี้ยวเบนผ่านช่องแคบเดี่ยว

3.2.2. พิจารณาการแทรกสอดของช่องคู่

3.2.3. การเลี้ยวเบนของแสงผ่านเกรตติง

3.2.3.1. d sinθ = nλ

3.2.3.2. d x/L = nλ

3.2.3.3. d sinθ = (n-1/2)λ

3.2.3.4. d x/L = (n-1/2)λ

3.3. การกระเจิงของแสง

3.3.1. ปัจจัย

3.3.1.1. ขนาดความยาวคลื่น: แสงสีน้ำเงินมีความยาวคลื่นสั้น แสงสีแดงมีความยาวคลื่นมากกว่า แสงคลื่นสั้นเกิดการกระเจิงได้ดีกว่าแสงคลื่นยาว

3.3.1.2. มุมที่แสงตกกระทบกับบรรยากาศ

3.3.1.3. ปริมาณสารแขวนลอยในอากาศ

4. คลื่นกล

4.1. ความหมาย

4.1.1. พลังงานที่แผ่ออกมาจากการรบกวนแหล่งกำเนิด

4.2. ประเภท

4.2.1. แบ่งตามสื่อกลาง

4.2.1.1. คลื่นกล ; อาศัยตัวกลาง

4.2.1.1.1. New node

4.2.1.1.2. New node

4.2.1.2. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ; ไม่อาศัยตัวกลาง

4.2.2. แบ่งตามความต่อเนื่อง

4.2.2.1. คลื่นดล

4.2.2.2. คลื่นต่อเนื่อง

4.2.3. แบ่งตามลักษณะของคลื่น

4.2.3.1. คลื่นตามยาว

4.2.3.2. คลื่นตามขวาง

4.3. องค์ประกอบของคลื่น

4.3.1. สันคลื่น = จุดที่สูงที่สุดของคลื่น

4.3.2. แอมพลิจูด = ระยะการกระจัดของตัวกลางมากที่สุด

4.3.3. ความยาวคลื่น = ระยะจากสันคลื่นหนึ่งไปยังอีกสันคลื่นที่ติดกัน

4.3.4. คาบ = เวลาที่หนึ่งลูกคลื่นเคลื่นที่ไปได้

4.3.5. ท้องคลื่น = จุดที่ต่ำที่สุดของคลื่น

4.3.6. เฟส = บอกตำแหน่งการกระจัดของอนุภาคเป็นค่ามุม (องศาหรือเรเดียน)

4.3.7. ความถี่ = จำนวนลูกคลื่นที่เคลื่นที่ไปได้ในหนึ่งหน่วยเวลา

4.3.8. การสะท้อน

4.4. สมบัติของคลื่น

4.4.1. สะท้อน

4.4.1.1. ความเร็ว , ความถี่ , ความยาวคลื่นเท่าเดิม

4.4.1.2. ถ้าการสะท้อนสูญเสียพลังงาน แอมพลิจูดจะน้อยลง

4.4.1.3. มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน

4.4.1.4. ปลายตรึงเฟสตรงข้าม , ปลายอิสระเฟสคงเดิม

4.4.2. หักเห

4.4.2.1. รังสีตั้งฉากกับหน้าคลื่นเสมอ

4.4.2.2. อัตราเร็ว และความยาวคลื่นเปลี่ยนไป แต่ความถี่คงที่

4.4.2.3. กฎการหักเห : n1sin θ1 = n2sinθ2

4.4.2.4. กฎการหักเห : รังสีตกกระทบ รังสีหักเห เส้นปกติ อยู่ในระนาบเดียวกัน

4.4.3. แทรกสอด

4.4.3.1. รวมแบบเสริม เรียกว่าบัพ

4.4.3.2. รวมแบบหักล้าง เรียกว่าปฏิบัพ

4.4.4. เลี้ยวเบน

4.4.4.1. จะทุกๆจุดบนหน้าคลื่น สามารถเป็นแหล่งกำเนิดคลื่นใหม่ได้

4.5. แนวโจทย์