ฟิสิกส์ เทอม 1

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ฟิสิกส์ เทอม 1 by Mind Map: ฟิสิกส์ เทอม 1

1. บทที่ 1 เวกเตอร์

1.1. ปริมาณทางฟิสิกส์

1.1.1. ปริมาณสเกลาร์

1.1.2. ปริมาณเวกเตอร์ 

1.2. หน่วย ในระบบนานาชาติ

1.2.1. หน่วยมูลฐาน (Basic units)

1.2.2. หน่วยอนุพันธ์   (derived  units)

1.2.3. คำอุปสรรค   ( prefixes) 

1.2.4. เลขนัยสำคัญ 

1.3. เวกเตอร์และการรวมเวกเตอร์

1.3.1. แรง

1.3.2. ความเร็ว

1.3.3. ระยะกระจัด

1.4. องค์ประกอบเวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก

1.4.1. เวกเตอร์ 2 มิติ

1.4.2. เวกเตอร์ 3 มิติ

2. บทที่3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ สมดุต่อการเคลื่อนที่

2.1. การหาแรงลัพธ์

2.2. การหาทิศของแรงที่กระทำต่อวัตถุจากลักษณะของการเคลื่อนที่

2.3. แรงเสียดทาน

2.3.1. แรงเสียดทานสถิต (static friction)

2.3.1.1. Fs=สัมประสิทธิแรงเสียดทานสถิต x N

2.3.2. แรงเสียดทานจลน์ (kinetic friction)

2.3.2.1. Fk=สัมประสิทธิแรงเสียดทานจลน์ x N

2.4. กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

2.4.1. กฎข้อที่1

2.4.1.1. ΣF=0

2.4.2. กฎข้อที่2

2.4.2.1. ΣF=ma

2.4.2.1.1. โจทย์ให้มวลกับความร่งให้หาแรงรวม

2.4.3. กฎข้อที่3

2.4.3.1. action=reaction

2.4.3.1.1. แรงกริยาจะเท่ากับแรงปฏิกริยาแต่ทิศทางของแรงทั้งสองจะตรงกันข้ามกัน

2.5. สมดุลของแรง

2.6. สมดุลต่อการเคลื่อนที่(translationalequilibrium)

2.6.1. แรงสองแรงในทิศตรงข้ามกัน

2.6.1.1. F1 = F2

2.6.2. วัตถุถูกแขวนในแนวดิ่ง มีแรงตึงเชือกเป็น T

2.6.2.1. T = mg

2.6.2.2. โจทย์ให้วัตถุเคลื่อนที่ลงตามแรงโน้มถ่วง ค่า mg จะมากกว่าค่า T

2.6.2.2.1. T-mg = ma

2.6.2.3. โจทย์ให้วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นในทิศตรงข้ามกับแรงโน้มถ่วง ค่า T จะมากกว่า mg

2.6.2.3.1. mg-T = ma

2.6.3. การลากวัตถุขึ้นพื้นเอียง

2.6.3.1. F = mgsinq

2.7. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์

2.7.1. ความเร่งในแนวระดับ (แกน x)=0

2.7.1.1. Vx = คงที่

2.7.2. ความเร่งในแนวดิ่ง (แกน Y )

2.7.3. เวลาที่วัตถุใช้เคลื่อนที่ตามแนวโค้ง = เวลาที่เงาของวัตถุใช้เคลื่่อนที่ตามแนวแกน X = เวลาที่เงาของวัตถุใช้เคลื่อนที่ตามแนวแกน Y(ในแนวราบและแนวดิ่งใช้ค่าเวลา(t) ตัวเดียวกัน)

2.7.4. ความเร็ว v ณ จุดใด ๆ

2.7.4.1. ความเร็วลัพธ์จะมีทิศสัมผัสกับเส้นทางเดินของโพรเจกไทล์ ณ จุดนั้น

2.7.4.1.1. ณ จุดสูงสุด

2.7.5. โจทย์ไห้ Vในแกนx และ y

2.7.5.1. หาทิศทางของ v เป็นการหามุมของความเร็วเมื่อเทียบกับแนวระดับ

2.7.5.2. สามารหาค่า Vรวมได้

3. บทที่2 การเคลื่อนที่แนวตรง

3.1. ปริมาณการเคลื่อนที่ (Quantities of motion)

3.2. สูตรการเคลื่อนที่( Formulas of Rectilinear )

3.3. การเคลื่อนที่แบบเส้นตรงในแนวดิ่งหรือดิ่งเสรี (Free fall)

3.3.1. การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง

3.3.1.1. หาได้จาก 4 สูตร

3.3.1.1.1. s=vt เมื่อความเร็วคงที่

3.3.1.1.2. โจทย์ให้ความเร็วต้น เวลา และความเร็วปลายให้หาความเร่ง

3.3.1.1.3. โจทย์ให้ความเร็วต้น เวลา และความเร่งให้หาการกระจัด

3.3.1.1.4. โจทย์ให้ความเร็วต้น ความเร่ง และการกระจัดให้หาความเร็วปลาย

3.3.1.1.5. โจทย์ให้ความเร็วต้น ความเร็วปลาย และการกระจัดให้หาความเร็วปลาย

3.4. การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งภายใต้แรงดึงดูดของโลก

3.4.1. มีความเร่งเท่ากับแรงดึงดูดของโลก =9.8 เมตรต่อวินาทีกำลัง²

3.4.1.1. โจทย์ให้ความเร็วต้นกับเวลาให้หาความเร็วปลาย

3.4.1.2. โจทย์ให้ความเร็วต้นกับเวลาให้หาความสูง

3.4.1.3. โจทย์ให้ความเร็วต้นกับความสูงให้หาความเร็วปลาย

3.4.2. การโยนเหรียญขึ้นแล้วตกลงมาในแนวดิ่งทีจุดๆเดิม การกระจัดจะมีค่าเป็น 0

3.4.2.1. จะได้ว่าค่า s=0

3.4.3. การโยนเหรียญขึ้นและตกลงมาในแนวดิ่ง การกระจัดจะมีค่าเป็น 0

3.5. กราฟการเคลื่อนที่เเนวเส้นตรง (Rectilinear motion Graphical Interpretation)

3.5.1. ถ้าความเร็วคงที่ ความเร่งจะมีค่าเป็น 0

3.5.2. ความเร็วคงที่ = ความเร่งจะมีค่าเป็น 0