อัตลักษณ์เรา อัตลักษณ์เขา กลุ่ม 4

นักเรียนดูภาพในกิจกรรม “อัตลักษณ์เรา อัตลักษณ์เขา” แล้วให้ร่วมกันวิเคราะห์อัตลักษณ์ของประเทศที่กำหนดให้เป็น MindMapping 1 ชิ้น

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
อัตลักษณ์เรา อัตลักษณ์เขา กลุ่ม 4 by Mind Map: อัตลักษณ์เรา อัตลักษณ์เขา กลุ่ม 4

1. เวียดนาม

1.1. การแต่งกาย

1.1.1. อ่าวหญ่าย เป็นชุดผ้าไหมที่สวมทับกางเกงขายาว

1.1.2. มีความแตกต่างกับศิลปวัฒนธรรมของไทยอย่างมาก ที่เป็น อย่างนี้เป็นเพราะเวียดนามถูกปกครองโดยประเทศจีนมาหลายครั้งหลายหน จนอาจเรียกได้ว่า อารยธรรม

1.2. ศาสนา

1.2.1. ชาวเวียดนามนับถือศาสนาพุทธมาแต่ดั้งเดิม จึงมีพื้นฐานด้านจิตใจที่อุดมและลุ่มลึก

1.2.2. ยังยอมรับนับถือลิทธิขงจื้อ ลัทธิเต๋า และศานาคริสต์นิกายคาทอลิก

1.2.3. เวียดนาม ไม่มีศาสนาประจำชาติ

1.2.4. รัฐธรรมนูญเวียดนามบัญญัติให้ประชาชนมีเสรี ในการเลือกนับถือศาสนา

1.3. วัฒนธรรม

1.3.1. วัฒนธรรม ของเวียดนาม คือ วัฒนธรรมของประเทศจีน นั่นเอง โดยเฉพาะทางด้านศิลปของโบราณสถาน ต่าง ๆ อาทิ พระราชวัง วัด สุสาน ฯลฯ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันจนไม่สามารถแยกออกให้เห็นอย่าง เด่นชัด

2. ไทย

2.1. ผู้ชายเรียกว่า "เสื้อพระราชทาน" ผู้หญิงจะเป็นชุดไทยที่มีสไบเฉียง ใช้ผ้ายกมีเชิงหรือยกทั้งตัว

2.2. การแต่งกาย

2.3. ศาสนา

2.3.1. ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ในประเทศไทยมีผู้นับศาสนาพราหมณ์-ฮินดู 0.086%

2.3.2. ในประเทศไทย ประชาชนทุกคนมีเสรีภาพที่จะนับถือศาสนาใดก็ได้ตามแต่ศรัทธาของตน โดยที่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะและทรงอุปถัมภ์ทุกศาสนา ศาสนาที่มีผู้นับถือมากและได้รับการอุปถัมภ์จากรัฐบาลและองค์พระมหากษัตริย์ได้แก่

2.3.3. ศาสนาพุทธ ในประเทศไทยมีผู้นับศาสนาพุทธ 93.83%

2.3.4. ศาสนาอิสลาม ในประเทศไทยมีผู้นับศาสนาอิสลาม 4.56%

2.3.5. ศาสนาคริสต์ ในประเทศไทยมีผู้นับศาสนาคริสต์ 0.80%

2.3.6. ศาสนาซิกข์ ในประเทศไทยมีผู้นับศาสนาซิกข์ 0.011%

2.4. วัฒนธรรม

2.4.1. คนไทยศาสนาพุทธนิกายเถรวาท

2.4.1.1. นิยมเขียนบนผนังภายในอาคารที่เกี่ยวกับพุทธศาสนาและบุคคลชั้นสูง เช่น โบสถ์ วิหาร พระที่นั่ง

2.4.2. ประเทศไทยปกครองโดยราชวงศ์จักรี

2.4.3. คนไทยเคารพความสัมพันธ์แบบมีลำดับชั้น

2.4.4. คนไทยเน้นและให้คุณค่ารูปแบบมารยาทภายนอกอย่างยิ่งเพื่อรักษาความสัมพันธ์ประสานกัน

2.4.5. ศิลปกรรม ศิลปกรรมไทยเป็นศิลปะที่มีความประณีตสวยงาม แสดงออกถึงความเป็นไทยที่มีความอ่อนโยน และสร้างสรรค์สืบต่อกันมาตั้งแต่อดีต

3. มาเลเซีย

3.1. การแต่งกาย

3.1.1. ประชากรร้อยละ 61.3 นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 19.8 นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 9.2 นับถือศาสนาคริสต์ ร้อยละ 6.3 นับถือศาสนาฮินดู และร้อยละ 1.3 นับถือลัทธิขงจื๊อ ลัทธิเต๋า และความเชื่อดั้งเดิมอื่น ๆ ของจีน แต่การหันไปนับถือศาสนาอื่นที่ไม่ใช่อิสลามเป็นปัญหาอย่างมากเนื่องจากทางภาครัฐจะไม่เปลี่ยนข้อมูลทางราชการให้ มาเลเซียบัญญัติในรัฐธรรมนูญให้อิสลามเป็นศาสนาประจำชาติ และผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะมีสิทธิพิเศษ คือ ได้รับเงินอุดหนุนเรื่องค่าครองชีพตามนโยบายภูมิบุตรของรัฐบาล

3.1.2. สำหรับชุดประจำชาติมาเลเซียของผู้ชาย เรียกว่า บาจู มลายู (Baju Melayu) ประกอบด้วยเสื้อแขนยาวและกางเกงขายาวที่ทำจากผ้าไหม ผ้าฝ้าย หรือโพลีเอสเตอร์ที่มีส่วนผสมของผ้าฝ้าย ส่วนชุดของผู้หญิงเรียกว่า บาจูกุรุง (Baju Kurung) ประกอบด้วยเสื้อคลุมแขนยาว และกระโปรงยาว

3.2. ศาสนา

3.3. วัฒนธรรม

3.3.1. มาเลเซียประกอบด้วยชนจากหลายเผ่าพันธุ์(พหุสังคม) รวมกันอยู่ บนแหลมมลายูมากว่า 1,000 ปี ประกอบด้วยเชื้อชาติใหญ่ๆ 3 กลุ่ม คือ ชาวมลายู ชาวจีน และชาวอินเดีย อาศัยอยู่บนแหลมมลายู ส่วนชนพื้นเมืองอื่นๆ เช่น อิบัน (Ibans) ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในรัฐซาราวัค และคาดาซัน (Kadazans) อาศัยอยู่ในรัฐซาบาห์ ด้วยประชากรหลากหลายเชื้อชาติภายในประเทศ ทำให้เกิดการหล่อหลอมของวัฒนธรรมและส่งผลต่อ การดำรงชีวิตของชาวมาเลเซีย จึงเกิดประเพณีที่สำคัญมากมาย อาทิเช่น 1.การรำซาบิน (Zapin) :เป็นการแสดงการฟ้อนรำหมู่ ซึ่งเป็นศิลปะพื้นเมืองของชาวมาเลเซีย โดยเป็นการฟ้อนรำที่ได้รับอิทธพลมาจาก ดินแดนอาระเบีย โดยมีผู้แสดงเป็นหญิง ชาย จำนวน 6 คู่ เต้นตามจังหวะของกีตาร์แบบอาระเบีน และ กลอง เล็กสองน้าที่บรรเลงจากช้าไปเร็ว 2.เทศกาลทาเดา คาอามาตัน (Tadau Kaamatan) เป็นเทศกาลประจำปีในรัฐซาบาห์ จัดในช่วงสิ้นเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงสิ้นสุดของฤดูการเก็บเกี่ยวข้าวและเริ่มต้นฤดูกาลใหม่ โดยจะมีพิธีกรรมตามความเชื่อในการทำเกษตร และมีการแสดงระบำพื้นเมือง และขับร้องบทเพลงท้องถิ่นเพื่อเฉลิมฉลองอีกด้วย

4. ลาว

4.1. การแต่งกาย

4.1.1. ผู้ชาย นุ่ง Patoi เป็นการนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อชิ้น นอก กระดุมเจ็ดเม็ด

4.1.1.1. ศาสนาในประเทศลาวที่สำคัญคือศาสนาพุทธ ชาวลาวลุ่มเกือบทั้งหมดนับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ส่วนชนเผ่าต่างๆนับถือธรรมชาติตามความเชื่อของแต่ละชนเผ่า พบในกลุ่มผู้ที่พูดภาษาตระกูลจีน-ทิเบต และไท-กะได เช่น ชาวไทดำ ไทแดง เช่นเดียวกับกลุ่มที่พูดภาษากลุ่มมอญ-เขมร ผู้นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกและโปรแตสแตนท์มีประมาณ 2% ศาสนากลุ่มน้อยอื่นๆได้แก่ลัทธิบาไฮ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพุทธนิกายมหายาน และลัทธิขงจื๊อ

4.2. ศาสนา

4.2.1. เทศกาลที่สำคัญในลาวคือบุญผะเหวดซึ่งจัดขึ้นปีละครั้ง ใช้เวลา 2 วัน ส่วนใหญ่ตรงกับช่วงมกราคม – กุมภาพันธ์ โดยจะขึ้นกับปฏิทินทางจันทรคติ พระภิกษุจะเทศนาเรื่องมหาเวสสันดรชาดก หรือที่เรียกว่ามหาชาติ

4.3. วัฒนธรรม

4.3.1. ดนตรีของชาวลาวมีเครื่องดนตรีที่เป็นเอกลักษณ์คือแคน ในวงดนตรีมีนักร้องเรียกว่าหมอลำและคนเป่าแคนที่เรียกหมอแคน ลำสาละวันเป็นการแสดงที่มีชื่อเสียงของลาว

4.3.2. ภาษาหลักของชาวลาวคือภาษาลาว แม้จะมีภาษาของชนกลุ่มน้อยต่างๆอีกมาในประเทศลาว ภาษาลาวเป็นภาษาที่มีการแสดงระดับความสุภาพในภาษา