สาระที่ 1 การอ่าน

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สาระที่ 1 การอ่าน by Mind Map: สาระที่ 1 การอ่าน

1. 1.อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆได้ถูกต้อง 2.อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน

1.1. คำที่มีรูปวรรณยุกต์และไม่มีรูปวรรณยุกต์

1.1.1. ภาษาพาที

1.1.1.1. บทที่ 1 อ่านผันวรรณยุกต์ อักษรกลาง สูง ต่ำ

1.1.1.2. บทที่ 6 มีน้ำใจ-อ่านผันวรรณยุกต์อักษรกลาง สูง ต่ำ

1.1.1.3. เพิ่มเติม รู้ไว้ได้ประโยขน์(ท้ายเล่ม) รูปวรรณยุกต์ มี 4 รูป คือ -่ -้ -๊ -๋ และเสียงวรรณยุกต์ มี 5 เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี และเสียงจัตวา

1.2. คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา

1.2.1. ภาษาพาที

1.2.1.1. บทที่ 2 ใจหาย-อ่านคำและสังเกตตัวสะกดแม่ กง กม และกน

1.2.1.2. บทที่ 3 ครัวป่า-อ่านคำและสังเกตตัวสะกดแม่ เกย

1.2.1.3. บทที่ 4 กลัวทำไม-อ่านคำและสังเกตตัวสะกดแม่ เกอว

1.2.1.4. บทที่ 12 ชาติของเรา-รูปสระที่ไม่มีตัวสะกด มีสระ อะ ใช้รูป -ะ สระ อื ใช้รูป -ือ สระเอะ ใช้รูป เ-ะ สระแอะ ใช้รูป แ-ะ และสระเออ ใช้รูป เ-อ -รูปสระที่มีตัวสะกด มีสระอะที่เปลี่ยนรูปเป็น -ั สระอือ ใช้รูป -ื สระเอะเปลี่ยนรูปเป็น เ-็ สระแอะ เปลี่ยนรูปเป็น แ-็ สระเออ เปลี่ยนรูปเป็น เ-ิ และสระเออ มี ย เป็นตัวสะกด ใช้รูปเป็น เ-

1.3. คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ

1.3.1. ภาษาพาที

1.3.1.1. บทที่ 3 ครัวป่า -คำควบกล้ำ กร,กล, คร,คล,ปร,ปล,พร,พล

1.3.1.2. บทที่ 4 กลัวทำไม -คำควบกล้ำ คว,กว,ขว

1.4. คำที่มีอักษรนำ

1.4.1. ภาษาพาที

1.4.1.1. บทที่ 5 ชีวิตใหม่ -อ่านคำและสังเกตพยัญชนะต้น อักษรนำ ( ห นำ )

1.4.1.2. บทที่ 6 มีน้ำใจ -อ่านคำและสังเกตพยัญชนะต้น (คำเหล่านี้มี ห,อ นำ

1.5. คำที่มีตัวการันต์

1.5.1. ภาษาพาที

1.5.1.1. บทที่ 11 เด็กดี -อ่านคำที่มีเครื่องหมาย

1.5.1.1.1. ทัณฑฆาต( ์ )

1.5.1.1.2. ไม้ยมก( ๆ )

1.5.1.1.3. อัศเจรีย์( ! )

1.5.1.1.4. อัญประกาศ(" ")

1.6. คำที่มี รร

1.6.1. ภาษาพาที

1.6.1.1. บทที่ 11 เด็กดี -อ่านคำที่มี รร (ร หัน ) เช่น ธรรมชาติ, พรรคพวก, พรรษา, อัศจรรย์

1.7. คำที่มีพยัญชนะและสระที่ไม่ออกเสียง

1.7.1. ภาษาพาที

1.7.1.1. บทที่ 8 โลกร้อน -อ่านคำและสังเกตพยัญชนะที่ไม่ออกเสียง ได้แก่ คำที่ไม่ออกเสียง ร,ห ที่อยู่กลางคำ เช่น ปรารถนา พรหม สามารถ เป็นต้น -อ่านคำ สังเกตสระ และเครื่องหมายที่ไม่ออกเสียง ได้แก่ สระ -ิ,-ุ เช่น ชาติ เหตุ ภูมิใจ เป็นต้น

2. 8.มีมารยาทในการอ่าน

2.1. -ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น

2.2. -ไม่เล่นกันขณะที่อ่าน

2.3. -ไม่ทำลายหนังสือ

2.4. -ไม่ควรแย่งอ่านหรือชะโงกหน้าไปอ่านขณะที่ผู้อื่นกำลังอ่านอยู่

3. 7.อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ

3.1. การใช้สถานที่สาธารณะ

3.1.1. ไม่ควรส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่น

3.1.2. ไม่สร้างสิ่งสกปรกต่อสถานที่สาธารณะ

3.1.3. ห้ามเล่นการพนันหรือเสพของมึนเมาในที่สาธารณะ

3.1.4. ห้ามขุด กะเทาะ เขียนหรือพ่นสีบนอุปกรณ์ทุกชนิด

3.1.5. ห้ามพกพาอาวุธทุกชนิด

3.1.6. ห้ามเด็ดหรือตัดใบ ดอกผล และโค่นต้นไม้ในที่สาธารณะ

3.2. คำแนะนำการใช้เครื่องใช้ที่จำเป็นในบ้านแลโรงเรียน

3.2.1. ไม่ทุบหรือทำลายให้เกิดความเสียหาย

3.2.2. ไม่ควรเคลื่อนย้ายออกจากที่เดิม หรือมีการเคลื่อนย้ายออกไปใช้ แต่ควรนำกลับมาไว้ที่เดิม

3.2.3. ใช้อย่างทะนุถนอม และระวังที่สุด

3.2.4. หลังใช้งานควรตรวจดูว่ามีอะไรเสียหายหรือไม่

4. 6.อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอ และนำเสนอเรื่องที่อ่าน

4.1. หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหรดร่วมกัน

4.1.1. อ่านคล่องอ่านเร็ว

4.2. หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย

4.2.1. ให้นักเรียนเข้าห้องสมุดหาหนังสือที่ชอบพร้อมเขียนเหตุผลที่ชอบลงในสมุด

5. 3.ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน 4.ระบุใจความสำคัญและรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน 5.แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน

5.1. บทเพลงและบทร้อยกรองร้องง่ายๆ

5.1.1. วรรณคดีลำนำ

5.1.1.1. บทที่ 1 ดอกสร้อยแสนงาม -กาเอ๋ยกา,กาดำ

5.1.1.2. บทที่ 3 รื่นรสสักวา -สักวา,เพลงเย็นเย็น

5.1.1.3. บทที่ 4 ไก่แจ้เซ่เสียง -ไก่งามเพราะขน,ไก่แก้ว

5.1.1.4. บทที่ 5 ภาพวาดของสีเทียน -รักษาป่า -นกน้อยน้อย -ชมไพร

5.1.1.5. บทที่ 6 ยายกะตา -ความดีความชั่ว,เห็นผิดเห็นถูก

5.1.2. ภาษาพาที

5.1.2.1. บทที่ 1 น้ำใส -อ่านคล้องร้องเล่น --เย็น เย็น

5.1.2.2. บทที่ 2 ใจหาย -อ่านคล้องร้องเล่น --คิดถึงเพื่อนรัก

5.1.2.3. บทที่ 3 ครัวป่า -อ่านคล้องร้องเล่น --อร่อย อร่อย

5.1.2.4. บทที่ 4 กลัวทำไม -อ่านคล้องร้องเล่น --กลัวทำไม

5.1.2.5. บทที่ 5 ชีวิตใหม่ -อ่านคล้องร้องเล่น --จำลาจาก

5.1.2.6. บทที่ 6 มีน้ำใจ -อ่านคล้องร้องเล่น --ช่วยกัน -เพลงเด็กดีมีน้ำใจ

5.1.2.7. บทที่ 7 นักคิดสมองใส -อ่านคล้องร้องเล่น --สายรุ่ง

5.1.2.8. บทที่ 8 โลกร้อน -อ่านคล้องร้องเล่น --ร่วมแก้ไข

5.1.2.9. บทที่ 9 รักพ่อรักแม่ -อ่านคล้องร้องเล่น --รักแท้

5.1.2.10. บทที่ 10 เข็ดแล้ว -อ่านคล้องร้องเล่น -กินดีมีสุข

5.1.2.11. บทที่ 11 เด็กดี -อ่านคล้องร้องเล่น --เด็กดีทำดี

5.1.2.12. บทที่ 12 ชาติของเรา -อ่านคล้องร้องเล่น --ชาติไทย .เพลงชาติ

5.2. นิทาน

5.2.1. วรรณคดีลำนำ

5.2.1.1. บทที่ 1 ดอกสร้อยแสนงาม -กากับเหยือกน้ำ

5.2.1.2. บทที่ 2 นิทานอ่านใหม่ -ราชสีห์กับหนู

5.2.1.3. บทที่ 6 ยายกะตา -ยายกะตา

5.3. เรี่องเล่าสั่นๆ

5.3.1. วรรณคดีลำนำ

5.3.1.1. บทที่ 6 ยายกะตา -ยักษ์เล็กตีกับยักษ์ใหญ่

5.4. เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรุ้อื่น

5.4.1. วรรณคดีลำนำ

5.4.1.1. บทที่ 1 ดอกสร้อยแสนงาม -ดอกสร้อยแสนงาม -กาหรือกาดำ

5.4.1.2. บทที่ 2 นิทานอ่านใหม่ -เก่งใหญ่กับเก่งเล็ก -เรื่องของหนู

5.4.1.3. บทที่ 3 รื่นรสสักวา -ลุงตลับ -บอระเพ็ด

5.4.1.4. บทที่ 4 ไก่แจ้แซ่เสียง -เจ้าสร้อยเจ้าสาย

5.4.1.5. บทที่ 5 ภาพวาดของสีเทียน -สีเทียน

5.4.1.6. บทที่ 6 ยายกะตา -เด็กหญิงมะลิ

5.4.2. ภาษาพาที

5.4.2.1. บทที่ 1 น้ำใส-เรื่องน้ำใส

5.4.2.2. บทที่ 2 ใจหาย-ใจหาย

5.4.2.3. บทที่ 3 ครัวป่า-ครัวป่า

5.4.2.4. บทที่ 4 กลัวทำไม-กลัวทำไม

5.4.2.5. บทที่ 5 ชีวิตใหม่-ชีวิตใหม่

5.4.2.6. บทที่ 6 มีน้ำใจ-มีน้ำใจ

5.4.2.7. บทที่ 7 นักคิดสมองใส-นักคิดสมองใส

5.4.2.8. บทที่ 8 โลกร้อน-โลกร้อน

5.4.2.9. บทที่ 9 รักพ่อ รักแม่-รักพ่อ รักแม่

5.4.2.10. บทที่ 10 เข็ดแล้ว-เข็ดแล้ว

5.4.2.11. บทที่ 11 เด้กดี-เด็กดี

5.4.2.12. บทที่ 12 ชาติของเรา-ชาติของเรา