1. 1. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
1.1. ตระกูลกะหล่ า ได้แก่ กะหล่ าดาว กะหล่ าดอก กะหล่ าปลี กวางตุ้ง คะน้า ผักกาดขาว ปลี ผักกาดเขียวปลี ผักกาดหัว บล็อกโคล
1.2. ตระกูลแตง ได้แก่ แตงกวา แตงเทศ แตงโม ต าลึง บวบเหลี่ยม บวบหอม น้ าเต้า ฟักทอง มะระ
1.3. ตระกูลถั่ว ได้แก่ กระถิน แค ชะอม ถั่วแขก ถั่วฝักยาว ถั่วลันเตา มันแกว โสน
1.4. มะเขือ ได้แก่ ตระกูลพริกพริกยักษ์พริกหวานมะเขือ มะเขือเทศมะแว้ง
1.5. ตระกูลอื่นๆ ได้แก่ ข้าวโพดหวาน ขึ้นฉ่าย เครื่องเทศ ผักกาดหอม ผักชี ผักบุ้งจีน สมุนไพร
2. 3. ฤดูปลูกที่เหมาะสม
2.1. ฤดูฝน เดือน มิถุนายน-กันยายน
2.1.1. สามารถเจริญเติบโตได้ดีในสภาพอุณหภูมิระหว่าง 25-35 องศาเซลเซียส และทนฝน
2.1.1.1. ่ ผักตระกูลแตงทั้งหมด
2.1.1.2. ยกเว้น แตงเทศ ผักตระกูลมะเขือ และถั่วฝักยาว ผักกลุ่มนี้เจริญเติบโตได้ผลดีในทุกฤด
2.2. ฤดูหนาว เดือน ตุลาคม-มกราคม
2.2.1. สามารถเจริญเติบโตได้ดีระหว่างอุณหภูมิ 18-28 องศาเซลเซียส
2.2.1.1. กระหล่ำดอก กะหล่ำปลี กระเทียม แครอท บล็อกโคลี่ ผักกาดเขียวปลี ผักกาดหัว ผักกาดหอม มันฝรั่ง และหอมหัวใหญ่
2.3. ผักฤดูร้อน
2.3.1. สามารถเจริญเติบโตได้ดีในสภาพอุณหภูมิระหว่าง 25-35 องศาเซลเซียส
2.3.1.1. กระเจี๊ยบเขียว ข้าวโพดหวาน ผักตระกูลแตงทุกชนิด ผักตระกูลมะเขือทั้งหมด
2.3.1.2. ยกเว้น พริกยักษ์ พริกหวาน ส าหรับผักตระกูลถั่ว ยกเว้น ถั่วลันเตา
3. 2. ตามส่วนที่ใช้บริโภค
3.1. ราก
3.1.1. รากแก้ว ได้แก่ แครอท เทอร์นิพ ผักกาดหัว
3.1.2. รากแขนง ได้แก่ มันเทศ
3.2. ลำต้น
3.2.1. ลำต้นเหนือดิน ได้แก่ กะหล่ าปม หน่อไม้ฝรั่ง
3.2.2. ลำต้นใต้ดิน ได้แก่ ขิง ข่า เผือก มันฝรั่ง มันมือเสือ หน่อไม้
3.3. ใบ
3.3.1. ตระกูลหอม ได้แก่ กระเทียม กระเทียมต้น หอมแดง หอมแบ่ง หอมหัวใหญ
3.3.2. กลุ่มใบกว้าง ได้แก่ กะหล่ าปลี คะน้า ปวยเล้ง ผักกาดขาวปลี ผักกาดหอม
3.4. ดอก
3.4.1. ตาดอกอ่อน ได้แก่ กะหล่ าดอก บล็อกโคลี่
3.4.2. ดอกแก ได้แก่ แค โสน
3.5. ผล
3.5.1. ผลอ่อน ได้แก่ กระเจี๊ยบเขียว ข้าวโพดฝักอ่อน แตงกวา ถั่วฝักยาว ถั่วลันเตา บวบ เหลี่ยม มะเขือ มะระ
3.5.2. ผลแก่ ได้แก่ ตระกูลแตง เช่น แตงเทศ แตงโม ฟักทอง ผักตระกูลมะเขือ ได้แก่ พริก มะเขือเทศ