การประเมินสภาพจิต สังคม และจิตวิญญาณ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การประเมินสภาพจิต สังคม และจิตวิญญาณ by Mind Map: การประเมินสภาพจิต สังคม และจิตวิญญาณ

1. การประเมินสภาพจิต

1.1. หมายถึงการประเมินและวิเคราะห์หาสาเหตุของโรคหรือปัญหาทางจิตเวช

2. จุดมุ่งหมายของการประเมนสภาพจิต

2.1. ก.วินิจฉัย คือ การสรุปว่าผู้ป่วยมีโรคทางจิตเวช ตามการแบ่งชนิดของโรคซึ่งเป็นที่ยอมรับกัน

2.2. ข.ความเข้าใจในเรื่องความเป็นมาของปัญหาของผู้ป่วย เช่นการสัมภาษณ์ข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับผู้ป่วยทั้งในอดีตและปัจจุบัน

2.3. ค.การว่าแผนการรักษา

2.4. ง.ความเข้าใจเรื่องจิตใจของผู้ป่วย

2.5. จ.ความสัมพันธ์เพื่อการรักษา

3. การตรวจทางจิตเวช

3.1. 1. ประวัติ

3.1.1. 1.1 ประวัติส่วนตัว เช่น ขื่อ เพศ การศึกษา ประวัติการเจ็บป่วย

3.1.2. 1.2 ประวัติเกี่ยวกับบ้านและครอบครัว

3.1.2.1. - ครอบครัวประกอบด้วยใครบ้าง อาชีพ ระดับการศึกษา บ้านที่อยู่มีลักษณะอย่างไร ครอบครัวมีปัญหาหรือไม่ ผู้ป่วยมีปัญหาในบ้านหรือไม่

3.1.3. 1.3 ประวัติการกับสถานศึกษา

3.2. 2. การตรวจสอบสภาพจิต

3.2.1. 2.1ลักษณะทั่วไป

3.2.1.1. สภาพร่างกายและอารมณ์ของผู้ป่วย

3.2.1.2. พฤติกรรมทั่วไปขณะสัมภาษณ์ การเคลื่อนไหว

3.2.1.3. ท่าทีของผู้ป่วยต่อผู้สัมภาษณ์

3.2.2. 2.2 การพูดและการใช้ภาษา

3.2.2.1. - คุณภาพการพูด เช่น น้ำเสียง ความดัง

3.2.3. 2.3 ความคิดและการคิด

3.2.3.1. กระบวนการหรือรูปแบบของความคิด

3.2.3.1.1. - การพูดอ้อมค้อม ความคิดไม่ปะติดปะต่อ พูดเร็ว ใช้คำแปลก

3.2.4. 2.4  สภาวะอารมณ์

3.2.4.1. อารมณ์พื้นฐาน คืออารมณ์โดยรวมในช่วงที่ผ่านมา

3.2.4.2. อารมณ์ที่แสดงออก หมายถึงอารมณ์ที่มักถูกสังเกตได้ทางสีหน้า แววตา

3.2.5. 2.5 การรับรู้

3.2.5.1. คือ ความผิดปกติการประเมินการรับรู้ที่ผิดปกติ สามารถประเมินโดยใช้คำถาม

3.2.6. 2.6 การหยั่งรู้สภาพความเจ็บป่วย

3.2.6.1. เป็นระดับการรู้ตัวและเข้าใจเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของตัวเอง

3.2.7. 2.7 การตัดสินใจ

3.2.7.1. ต้องประเมินว่าผู้ป่วยตัดสินใจเหมาะสมหรือไม่

3.2.8. 2.8 การรับรู้สภาวะตอนเองและสิ่งแวดล้อม

3.2.8.1. 1. ความรู้สึกตัว เป็นความสามารถของผู้ป่วยที่ตอบสนองต่อผู้ตรวจ

3.2.8.2. 2. การรู้เวลา สถานที่และบุคคล

3.2.8.3. 3. ความจำ

3.2.8.3.1. ความจำเฉพาะหน้า ความจำระยะสั้น ระยะไกบ การเรียกคืนความจำ

3.2.8.4. 4. เชาวน์ปัญญา

3.2.8.4.1. การถามคำถามที่คนทั่วไปตอบได้ เช่น 1 อาทิตย์มี่กี่วัน และการใช้คำศัพท์

3.2.8.5. 5. ความตั้งใจ และสมาธิ

3.2.8.5.1. การนับเลข การลบเลข

3.2.8.6. 6. ความคิดเชิงนามธรรม

3.2.8.6.1. การแปลความหมายสุภาษิต การเปรียบความเหมือนต่างของสองสิ่ง