Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Environment by Mind Map: Environment

1. Environmental Awareness

1.1. Pollution

1.1.1. WWII  ทดสอบระเบิด + นิวเคลียร์

1.1.2. ควัน

1.1.2.1. Great Smoke in England 1952 Dec

1.1.2.1.1. Death 4000

1.2. DDT

1.2.1. คิด1940

1.2.2. WWII หทารใช้ฆ่าแมลง

1.2.3. อันตรายต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

1.2.3.1. แปลกนกบางลง นกตาย

1.2.3.2. กินกันเป็นทอดๆ biomagnification

1.2.3.2.1. ย้อนกลับมาที่มนุษย์

1.2.3.3. กระดูกปลาวาฬเปราะ

1.2.3.4. ปลากลายเป็นตุ๊ด

1.2.4. WHO ใช้สู้มาเลเรีย

1.2.5. Silent Spring by  Rachel Carson

1.3. An Inconvenient Truth (2006) by Al Gore

1.3.1. CO2 เพิ่มขึ้น

1.3.2. Global Warming

1.3.3. ผลกระทบต่อโลก

1.4. ระดับที่ตระหนักรู้

1.4.1. เริ่มที่เรา

1.4.1.1. ลดปริมาณของเสีย

1.4.1.2. ใช้ถุงผ้า

1.4.1.3. อย่าคิดว่าเทคโนโลยีช่วยได้เสมอ

1.4.2. ใช้ทรัพยากรมากเกินไป

1.4.2.1. มนุษย์ 26% ใช้ 86% ของทรัพยากรโลก

1.4.2.1.1. US ใช้เยอะมาก

1.4.2.2. ควบคุมประชากร

1.4.2.3. ลดการใช้ทรัยากร

1.4.3. Spaceship Earth

1.4.3.1. ใช้ศาตร์ต่างๆช่วย คุมประชากรและทรัยากร

1.4.3.1.1. ลดทอนสิทธิมนุษย์

1.4.3.2. มนุษย์พยายามควาบคุมโลก

1.4.3.2.1. ทำไม่ได้เข้าใจโลกไม่ได้ทั้งหมด

1.4.3.3. Arne Nasse

1.4.3.3.1. 1970 มนุษย์สำคัญ ทรพยากรเป็นของมนุษย์

1.4.3.3.2. 1973 โลกสำคัญ อย่าทำร้ายโลก ต้องปรับตัว

1.4.4. Sustainable Earth

1.4.4.1. Light Green

1.4.4.1.1. เริ่มจากตัวเรา ค่อยๆปรับ

1.4.4.2. Bright Green

1.4.4.2.1. ทุกอย่างปกติ ใช้เทคโนโลยีช่วย

1.4.4.2.2. Alex Steffen (2003)

1.4.4.3. Dark Green

1.4.4.3.1. ระดับท้องถิ่น

1.4.4.3.2. ควบคุมประชากร

1.4.4.3.3. ลดใช้ทรพยากร

1.4.4.4. Grey

1.4.4.4.1. ไม่เชื่อ ไม่ทำ ไม่สน

2. Biodiversity

2.1. Species Diversity

2.2. Genetic Diversity

2.3. Ecosystem Diversity

3. Environmental Science in Today’s World

3.1. Earth อายุ 4.6 พันล้านปี

3.1.1. Atmosphere

3.1.1.1. Oxygen 21%

3.1.1.2. Nitrogen 78%

3.1.1.3. Carbonduoxide 0.03%

3.1.1.4. Methane 0.0004 %

3.1.1.4.1. ไม่ควรมีมาก เดี๋ยวติดไฟ

3.1.2. Lithosphere

3.1.3. Hydrosphere

3.1.4. Biosphere

3.2. Gaia Theory by James Lovelock "โลกมีชีวิต" เป็นตัวกำหนดสภาพแวดล้อม มีหรือไม่มีชีวิตก็วิวัฒนาการไปพร้อมๆกัน

3.2.1. สิ่งมีชีวิต

3.2.1.1. ต้องการอาหาร

3.2.1.2. ใช้พลังงาน

3.2.1.3. เจริญเติบโต/สืบพันธุ์

3.2.1.4. มีความสามารถในการรักษาสมดุลในตัวเอง

3.2.1.5. ขอบเขต(boundary

3.2.2. รักษาสมดุลตัวเอง

3.2.2.1. Daisy World

3.2.2.1.1. Black daisy = ดูดซับเพื่อใช้ในการสังเคราะห์แสงได้ดี คายความร้อนมาก

3.2.2.1.2. White daisy = สะท้อนแสง ทนแสงจัดและร้อน

3.2.2.2. อุณหภูมิเฉลี่ยไม่เปลี่ยนแปลง รับแสงจากอาทิตย์ 25 > 30 %

3.2.3. องค์ประกอบอากาศ

3.2.3.1. Atmosphere

3.2.4. ความเค็มน้ำทะเล

3.2.4.1. ความเค็ม 3.4 %

3.3. Homosapien 2.5  พันล้านปีก่อน ปัจจุบันมีประชากร 7.5 พันล้าน (2016)

3.3.1. Hunting and Gathering Societies

3.3.1.1. Early hunter and gaterers

3.3.1.1.1. ~2.5ล้านปี ก่อน

3.3.1.1.2. ล่า และ เก็บหาของป่ า

3.3.1.1.3. จํานวนประชากรน้อย อาศัยเป็ นกลุ่มเล็ก ๆ (<50)

3.3.1.1.4. เริ่มใช้เครื่องมือหิน

3.3.1.1.5. 800,000 ปีก่อนใช้ไฟทำอาหาร

3.3.1.2. Advanced hunter and gaterers

3.3.1.2.1. 300,000– 10,000 ปีก่อน

3.3.1.2.2. จํานวนประชากร~1ล้านคน

3.3.1.2.3. เครื่องมือพัฒนา

3.3.1.2.4. กระจายออกจากแอฟริกาไปที่อื่น

3.3.2. Agricultural Societies

3.3.2.1. Early Pastoralists and horticulturists

3.3.2.1.1. ~10,000 ปีก่อน

3.3.2.1.2. สัตว์และพืชมาเพาะเลี้ยง ปลูกผัก

3.3.2.1.3. เกิดใกล้เคียงกันทั่วโลก

3.3.2.1.4. การเกษตรไร่หมนุนเวียน

3.3.2.2. Early Agriculturalists

3.3.2.2.1. ~5000BC.

3.3.2.2.2. เครื่องมือการเกษตร ไร่ใหญ่ขึ้น มีระบบน้ำ

3.3.2.3. Agricultural based urban society

3.3.2.3.1. ไร่ใหญ่ขึ้นอีก

3.3.2.3.2. ประชากรมากขึ้นนน

3.3.2.3.3. ผลิตสินค้าอื่นๆ เผื่อแลกเปลี่ยน

3.3.2.3.4. เมดิเตอเรเนียน เมโสโปเตเมีย อียิปต์

3.3.2.3.5. ผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมมาก

3.3.3. Industrial Societies

3.3.3.1. กลางศตวรรษที่ 18

3.3.3.2. เครื่องจักรไอน้ำ เรือ มาแทนสัตว์

3.3.3.3. ถ่านหิน

3.3.3.3.1. น้ำมัน

3.3.3.4. หลัง WWII พัฒนาเครื่องจักรด้วยวิทยาศาสตร์

3.3.3.5. ประชากรมากขึ้น

3.3.3.5.1. มลพิษของเสีย

3.4. การสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต

3.4.1. Australia

3.4.1.1. 60,000-53,000ปี ก่อน นกใหญ่และสัตว์กระเป๋าหน้าท้อง

3.4.2. North America

3.4.2.1. California Condor

3.4.2.2. Saber tooth cat

3.4.3. กว่า 90% สูญพันธ์ไปแล้ว

3.4.3.1. 52% เป็ นสัตว์ฟันแทะ

3.4.3.2. 3% เป็ นกลุ่มไพรเมต

3.4.3.3. ปลาอย่างน้อย172 ชนิด

3.4.3.4. หอย 242

3.4.3.5. แมลง 194

3.4.3.6. พืชดอก 713 ชนิด

3.4.4. สาเหตุการสูญพันธุ์

3.4.4.1. ทำลายป่า ถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์

3.4.4.1.1. ป่า

3.4.4.2. การใช้ประโยชน์ของมนุษย์

3.4.4.3. สิ่งมีชีวิตต่างถิ่น

3.4.4.3.1. Alien Species

3.4.4.3.2. Invasive Species

3.4.4.4. มลพิษ

3.4.4.4.1. น้ำ

3.4.4.4.2. อากาศ

3.4.4.4.3. ภูมิกากาศ

4. Resourses

4.1. Non-Renewable Resources

4.1.1. แร่ธาต

4.1.2. น ้ามัน

4.1.3. ก๊าซธรรมชาต

4.2. Renewable Resources

4.2.1. ป่าไม้

4.2.1.1. ประโยชน์ทางตรง

4.2.1.1.1. ก่อสร้าง

4.2.1.1.2. ฟืนและถ่านที่ใช้เป็ นเชื้อเพลิง

4.2.1.1.3. สมุนไพรต่างๆ ที่น ามาท าเป็ นยารักษาโรค

4.2.1.1.4. ส่วนต่างๆ ที่ใช้ท าเป็ นเครื่องเขิน น ้าหอม

4.2.1.1.5. ฟอกหนังและสี

4.2.1.2. ประโยชน์ทางอ้อม

4.2.1.2.1. ช่วยให้มีน ้าไหลตลอดป

4.2.1.2.2. ช่วยบรรเทาความรุนแรงของอุทกภัย

4.2.1.2.3. ช่วยป้ องกันการพังทลายของหน้าดิน

4.2.1.2.4. ช่วยบรรเทาความรุนแรงของลมพายุ

4.2.1.2.5. รักาษาความชื้นและอุณหภูมิอากาศ

4.2.1.2.6. ที่อยู่อาศัยสัตว์ป่า

4.2.1.2.7. ที่พักผ่อนของประชาชน

4.2.1.3. ป่าเมฆ

4.2.1.3.1. ป่าดิบเขาสูง ต้นน้ำ

4.2.1.3.2. 2.5 % ของพื้นที่ป่ าเขตร้อน

4.2.1.3.3. สภาพอากาศหนาว ชื้นทั้งปี คลุมด้วยเมฆหลายเดือน

4.2.1.3.4. แดดน้อย สลายใบยาก ดินเป็นกรด

4.2.1.3.5. แยกชั้นบนล่างชัดเจน

4.2.1.3.6. มีแต่ไม้เมืองหนาว

4.2.1.3.7. พบกลุ่มไม้อิงอาศัย

4.2.1.3.8. สิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่น (endemic species) มากมาย

4.2.1.4. ปัญหาสำคัญ ที่ส่งผลต่อทรัพยากรป่าไม

4.2.1.4.1. การตัดไม้ทำลายป่า

4.2.1.5. พื้นที่ป่าของประเทศไทย

4.2.1.5.1. 2528 เหลือแค่ 28% = 90 ล้านไร่ ป่าต้นน้ำลำธารแค่ 9 ล้าน

4.2.1.5.2. 2528(ปีเดียวกัน) พื้นที่ที่สมบูรณ์(A1) กลายเป็นสงวน

4.2.1.5.3. 2550 ป่าต้นน้ำลำธาร เหลือไม่ถึง 6 ล้าน

4.2.1.6. ประเภทป่าสงวน

4.2.1.6.1. พฤกษศาสตร์

4.2.1.6.2. รุกขชาติ

4.2.1.6.3. วนอุทยาน

4.2.1.6.4. อุทยาน

4.2.1.6.5. เขตห้ามล่า

4.2.1.6.6. เขตรักษาพันธุ์

4.2.1.6.7. ป่าสงวน

4.2.2. ดิน

4.2.3. สัตว์ป่า

4.2.3.1. สัตว์ป่าสงวน (Reserved Animals)

4.2.3.1.1. แมวลายหินอ่อน

4.2.3.1.2. พวกตุ๊ด

4.2.3.1.3. อ้วน

4.2.3.1.4. ชอบนก

4.2.3.1.5. แต่ขยัน

4.2.3.1.6. เลยโดนสวมเขา

4.2.3.1.7. อีดอก

4.2.3.1.8. คิดจะเลียนแบบแพนด้าหรอ

4.2.3.2. สัตว์ป่าคุ้มครอง (Protected Animals)

4.2.3.2.1. เลี้ยงลูกด้วยนม 201 ชนิด

4.2.3.2.2. นก 952ชนิด

4.2.3.2.3. สัตว์เลื้อยคลาน 91 ชนิด

4.2.3.2.4. สัตว์สะเทินน ้าสะเทินบก 12ชนิด

4.2.3.2.5. แมลง 20ชนิด

4.2.3.2.6. ปลา 14 ชนิด

4.2.3.2.7. สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ 12ชนิด

4.2.4. น้ำ

4.2.5. พื้นที่ชุ่มน ้า (Wetland)

4.2.5.1. Ramsar Site

4.2.5.1.1. ดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงครำม

4.2.5.1.2. อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะอ่างทอง สุราษฎร์ธานี

4.2.5.1.3. เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหนองบ่งคาย เชียงราย

4.2.5.1.4. ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินธร หรือป่าพรุโต๊ะแดง นราธิวาส

4.2.5.1.5. ปากแม่น้ำกระบี่

4.3. Ecological Footprints

4.3.1. Water Footprints

5. Pollution and Population Growth

5.1. Pollution

5.1.1. Pollutant

5.1.1.1. สารเคมี

5.1.1.2. สารอนินทรีย์

5.1.2. Air

5.1.2.1. CO2

5.1.2.2. CFCs

5.1.2.3. SO4 2-

5.1.2.4. NO2-

5.1.2.5. PM10

5.1.2.6. PM2.5

5.1.3. Water

5.1.3.1. Point sources

5.1.3.1.1. น้ำเสีย Organic water

5.1.3.1.2. Inorganic water

5.1.3.2. Non-point sources

5.1.3.3. หนทางแก้ไขมลภาวะทางน้ำ

5.1.3.3.1. การให้ออกซิเจนกับน้ำ

5.1.3.3.2. การสร้างโรงงานบำบัดน้ำเสีย

5.1.3.3.3. การสร้างระบบบำบัดในโรงงาน

5.1.3.3.4. การทิ้งแยกขยะให้ถูกสุขลักษณะ

5.1.3.3.5. การรักษาต้นน้ำลำธาร

5.1.4. Soil

5.1.4.1. โลหะหนัก

5.1.4.2. สารกำจัดศัตรูพืช

5.1.5. Radioactive

5.1.5.1. ของเสียจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

5.1.6. Noise

5.1.6.1. ความอึกทึกในเมือง เสียงดังบริเวณโดยรอบสนามบิน

5.1.7. Visual

5.1.7.1. ภูเขาขยะ

5.1.8. Thermal

5.1.8.1. น้ำร้อนจากโรงงานอุตสาหกรรม

5.1.9. Light

5.1.9.1. แสงรบกวนจากยานพาหนะในตอนกลางคืน แสงจากป้ายไฟต่าง ๆ

5.1.10. Global Warming

5.1.10.1. การเกิดภาวะเรือนกระจก

5.1.10.2. การเพิ่มประชากรมนุษย์ & การใช้ทรัพยากร

5.1.10.3. ขาดพื้นที่ป่า & แนวปะการัง ในการกำจัด CO2

5.2. Population Growth

5.2.1. Population

5.2.1.1. การดำรงอยู่

5.2.1.1.1. เติบโต

5.2.1.1.2. เพิ่มจำนวนประชากร

5.2.1.1.3. สืบเผ่าพันธุ์ต่อไป

5.2.1.2. การสูญพันธุ์

5.2.1.3. มนุษย์

5.2.1.3.1. มุมมองทางนิเวศวิทยา

5.2.1.3.2. มนุษย์สามารถวิวัฒนาการ โดยปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อม & เพิ่มจำนวน

5.2.1.3.3. บรรพษุรุษของมนุษย์

5.2.1.3.4. การเพิ่มจำนวนประชากรมนุษย์

5.2.1.3.5. ประชากรโลก

5.2.1.4. การศึกษาประชากร

5.2.1.4.1. ลักษณะการเติบโตของประชากร

5.2.1.5. ปัจจัยธรรมชาติที่ควบคุมประชากร

5.2.1.5.1. ปัจจัยทางกายภาพ

5.2.1.5.2. ปัจจัยทางชีวภาพ

5.2.1.5.3. เพิ่มประชากร

5.2.1.5.4. ปัญหาจากการเพิ่มประชากร

5.3. กิจกรรมที่สร้างผลกระทบ

5.3.1. อุตสาหกรรม

5.3.1.1. ปล่อยก๊าซเสียออกสู่ชั้นบรรยากาศ

5.3.1.2. กระบวนการกำจัดของเสียต่ำกว่ามาตรฐาน

5.3.1.3. เสียงดังรบกวนธรรมชาต

5.3.2. เกษตรกรรม

5.3.2.1. กระบวนการแผ้วถางป่า & การเผาป่า ให้เป็นที่ทำกิน

5.3.2.2. การดึงน้ำจากธรรมชาติไปใช

5.3.2.3. การใช้น้ำใต้ดินทำการเกษตร

5.3.3. การทำเหมืองแร่

5.3.3.1. ทำลายผิวดิน ชั้นดิน

5.3.3.2. ใช้ น้ำหน้าดิน & น้ำใต้ดิน ในกิจกรรม

5.3.3.3. เกิดการกัดเซาะหน้าดิน

5.3.3.4. เกิดอากาศเสียจากกระบวนการถลุงแร่

5.3.4. การขนส่ง (Transportation)

5.3.4.1. การเปลี่ยนแปลงทางน้ำจากการปิดกั้นของถนน

5.3.4.2. อากาศเสียจากการเผาไหม้

5.3.4.3. เสียงจากยวดยานพาหนะต่าง ๆ

5.3.5. การก่อสร้าง (Construction)

5.3.5.1. ทำลายพื้นที่ธรรมชาต

5.3.5.1.1. Habitat destruction

5.3.5.2. การใช้น้ำในกระบวนการ & การปล่อยน้ำเสีย

5.3.5.3. ทำลายพื้นที่ที่มีความสำคัญทางนิเวศวิทยา

5.3.6. การตั้งถิ่นฐาน (Habitations)

5.3.6.1. ประชากรมาอยู่หนาแน่นแออัดในเมือง

5.3.6.1.1. เกิดมลภาวะต่าง ๆ มากมาย จากกิจกรรมต่าง ๆ

5.4. ผลกระทบจากมลภาวะ

5.4.1. ทำลายสุขภาพอนามัยของมนุษย โดยตรง

5.4.1.1. ปัญหาหมอกควันในเชียงใหม่

5.4.1.1.1. ละอองลอย (aerosols)

5.4.1.1.2. เพิ่มอัตราการเป็นโรคทางเดินหายใจ & มะเร็งปอด

5.4.1.2. การใช้สารเคมีในเกษตรกรรม

5.4.1.2.1. มนุษย์ได้รับยากำจัดศัตรูพืชทั้งทางตรง & ทางอ้อม

5.4.1.2.2. ร่างกายอ่อนแอ

5.4.1.3. ลหะหนักที่ปนเปื้อนในน้ำ ก่อให้เกิดโรคต่าง ๆ

5.4.1.3.1. ปรอท ก่อให้เกิด โรคมินามาตะ

5.4.1.3.2. แคดเมี่ยม ก่อให้เกิด โรคอิไตอิไต

5.4.1.4. ของเสีย & น้ำเสีย เพิ่ม ภาวะการติดโรคทางเดินอาหาร

5.4.2. ทำลายสุขภาพอนามัยของมนุษย์ โดยอ้อม

5.4.2.1. มลภาวะ ทำลายสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น

5.4.2.1.1. ระบบนิเวศเสียสมดุล

5.4.2.2. การก่อสร้าง การตัดไม้ ทำให้เกิดความแห้งแล้ง

5.4.2.3. การใช้เชื้อเพลิง การตัดไม้ ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน

5.5. หนทางแห่งอนาคตมนุษยชาติ

5.5.1. Zero Population Growth; ZPG

5.5.1.1. Birth rate = Death rate

5.5.2. Maximum Sustainable Yield; MSY

5.5.3. Integrated Agricultural Management; IAM

5.5.3.1. การเกษตรแบบองค์รวม (บูรณาการ)

5.5.3.1.1. ไม่ปลูกพืชเชิงเดี่ยว แต่ ปลูกผสมผสาน

5.5.3.1.2. ลดการใช้สารเคมี แต่ให้สิ่งมีชีวิตควบคุมกันเอง

5.5.3.1.3. ลดการปลูกพืชข้ามถิ่น

5.5.4. Green Technology; GT

5.5.4.1. วัสดุรีไซเคิล / วัสดุย่อยสลายง่าย

5.5.4.2. ใช้พลังงานต่ำ

5.5.4.3. ก่อมลพิษน้อย

5.5.5. Biodiversity Conservation; BC

5.5.5.1. Conservation

5.5.5.2. Restoration