1. Family Oriented Care การดูแลเวชปฎิบัติทั้งครอบครัว
2. การนำกรอบคิดการพยาบาลไปใช้
2.1. บุคคล โดยพิจารณาถึงภาวะการเจ็บป่วย ได้แก่ ป่วยเรื้อรัง พิการ มารดา-ทารก ผู้ป่วยระยะสุดท้าย
2.2. 2. สิ่งแวดล้อม ได้แก่ที่อยู่อาศัย ระบบครอบครัว แบบแผนการดำเนินชีวิต ระบบบริการสุขภาพ แหล่งประโยชน์ความเชื่อ ประวัติศาสตร์ชุมชน พันธมิตร
2.3. 3. สุขภาพ โดยการคำนึงถึงมิติด้านร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ
3. Plan management= การวางแผนการเพื่อแก้ไขปัญหาทางการพยาบาล
4. 1. ความเร่งด่วนในการช่วยเหลือ เช่นหากล่าช้าจะเกิดอันตรายต่อผู้รับบริการ
4.1. 4. การพยาบาล คำนึงถึงกระบวนการพยาบาล รวมทั้งการดูแลที่บ้าน
5. ขณะเยี่ยมบ้าน
5.1. ใช้ภาษาเข้าใจง่าย ควรคำนึงถึงธรรมเนียมที่ควรปฏิบัติ
5.1.1. การขออนุญาต
5.1.2. การให้ความเคารพ
5.1.3. เกรงใจ
5.1.4. ช่างสังเกต
5.1.5. การตั้งคำถามให้เหมาะสม
5.2. ยึดหลักสะอาด ปลอดเชื้อ ป้องกันการติดเชื้อ มีความมั่นใจ
5.3. การใช้กระเป๋าเยี่ยม
5.4. การประเมินในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของผู้ป่วยและครอบครัว INHOMESS
5.4.1. N = Nutrition
5.4.1.1. เพื่อภาวะด้านโภชนาการของผู้ป่วย เช่น ผู้สูงอายุทานข้าวไม่ได้ เด็กขาดสารอาหาร
5.4.2. I = Immobility
5.4.2.1. เป็นการประเมินว่าผู้ป่วยสามารถดูแลตัวเองได้หรือต้องอาศัยผู้อื่นในการดูแล
5.4.3. H = Home environment
5.4.3.1. สภาพสิ่งแวดล้อมในบ้านและรอบบ้าน
5.4.4. O = Other people
5.4.5. M = Medications
5.4.5.1. สมาชิกในครอบครัวมีความสัมพันธ์กันอย่างไร เพื่อนบ้านมีการช่วยเหลือพึ่งพากันบ้างหรือไม่
5.4.5.2. การซักประวัติเรื่องยารวมถึงการใช้สมุนไพร ยาพื้นบ้าน ของผู้ป่วยมีความจำเป็นเพื่อประเมินเรื่องการใช้ยา
5.4.5.2.1. ความเชื่อ ทัศนคติ ค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณีต่าง ๆ การค้นหาปัจจัยทางด้านจิตวิทยาสังคมที่มีต่อผู้ป่วยและครอบครัว
5.4.6. E = Examination
5.4.6.1. การตรวจร่างกายขณะเยี่ยมบ้าน เช่น การวัดความดันโลหิต
5.4.7. S = Spiritual Health
5.4.8. S = Service
5.4.8.1. การประเมินที่บ้านถึงบริการสุขภาพที่ผู้ป่วยได้รับนั้น ทำให้ทราบถึงความรู้สึกที่มีต่อระบบบริการและสะท้อนถึงบริการที่ให้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว
6. ทักษะ
6.1. หลักในการจัดลำดับการเยี่ยมบ้าน
6.1.1. 2. ทราบประวัติเจ็บป่วยแน่นอนและต้องการความช่วยเหลือ
6.1.2. 3. ต้องให้การพยาบาล
6.1.3. 4. มีอาการเจ็บป่วยไม่รุนแรง เช่นเป็นไข้หวัด
6.1.4. 5. เจ็บป่วยเรื้อรัง
6.1.5. 6. โรคติดต่อ
7. ทำความเข้าใจชุมชน โดยการศึกษาข้อมูลพื้นฐานทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม โครงสร้างชุมชน
8. ทำความเข้าใจชุมชน โดยการศึกษาข้อมูลพื้นฐานทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม โครงสร้างชุมชน
9. เตรียมตัวดังนี้
10. Family as a Unit
11. Subjective=ข้อมูลจากคำบอกเล่าของผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย ด้านอาการและความเจ็บป่วย
12. Assesment= การประเมินปัญหาของผู้ป่วย
13. การนำเสนอข้อมูล
14. วางแผนและกำหนดวัตถุประสงค์ในการเยี่ยม
15. ระดับครอบครัว
16. การเตรียมตัวของพยาบาล เช่นเตรียมความพร้อม เตรียมความรู้ เตรียมเวชภัณฑ์ อุปกรณ์ที่จำเป็น และกระเป๋าเยี่ยม
17. ขั้นตอน
17.1. ก่อนการเยี่ยม
17.2. ระดับบุคคล
17.2.1. case approach เช่นการดูแลทางการแพทย์
17.2.2. holistic approach เช่นการดูแลจิตใจ จิตวิญญาณ
17.3. หลังการเยี่ยมบ้าน
17.3.1. การบันทึกข้อมูล
17.3.1.1. objective= ข้อมูลจากการสังเกตุ และการตรวจร่างกาย