Get Started. It's Free
or sign up with your email address
drug in teraction by Mind Map: drug in teraction

1. outcome

1.1. 1.Loss of therapeutic effect

1.2. 2.toxicity

1.3. 3.Unexpected pharmacological activity

1.4. 4.benefit effect

1.5. Synergism

1.5.1. summation(aditive)

1.5.1.1. 1+1=2

1.5.2. potentiation

1.5.2.1. 1+1=4

1.6. Antagonism

1.6.1. 1+1=0 or 0.5

2. Avoid

2.1. ไม่ใช้ยาร่วมกัน

2.2. ใช้ยาอื่นที่แทนกันได้

2.3. ปรับแผนการใช้ยา

2.3.1. ex.ลด-เพิ่ม, กระยะห่างการให้ยา

2.4. เฝ้าระวังติดตาม

3. Herb-Drug interaction

3.1. PK

3.1.1. Absorb

3.1.1.1. พวก gum mucilage ยังยั้งการดูดซึมยา

3.1.2. Distribute

3.1.2.1. ex.พืชที่มีsalicylate จะไปแย่งจับprotein bideing

3.1.3. metabolism

3.1.3.1. licrorice decrese metabolism steroid   St.john wort increse metabolism

3.2. PD

3.2.1. สมุนไพรที่มีฤทธ์ทางเภสัชวิทยาเหมือนกับยาแผนปัจจุบัน

3.3. possible outcome

3.3.1. increse efficacy,toxicity

3.3.2. decrese

3.4. ข้อควรระวัง

3.4.1. กรณีสมุนไพรที่มี case report ก็ยังไม่ใช่หลักประกันที่เป็นข้อห้ามใช้ เนื่องจาก case report มีข้อจำกัดหลายด้าน

3.5. Ex.

3.5.1. case report

3.5.1.1. แป๊ะก๋วย-warfarin chamomila-warfarin ตังกุย-warfarin กระเทียม-warfarin กระเทียม-para,chlorpropamide,saquinavir ชาเขียว-warfarin,folic St john-cyclosporin,indinavir,digoxin betel nut(หมาก)-salbutamol ชะเอม-prednisolone ฟ้า่ทะลายโจร-theophyline

3.5.2. คาดการณ์ทางทฤษฎี

3.5.2.1. สาระแหน่-felodipine aloe vera-digoxin,steroid,diuretic มะขามแขก,ชะเอม(ทำให้ k ต่ำ)-antihypertension,digoxin ลูกใต้ใบ,บัวบก,หญ้าหนวดแมว,มะรุม(ยับยั้ง cyp3a4)- Enalapril amlodipine simvastatin เห็ดหลินเจอ-aspirin รางจืด(cyp1a4 inhibiter)-diazepam เจียวกู่หลาน-aspirin

4. mechanism

4.1. direct

4.1.1. ex

4.1.1.1. ความไม่เข้ากันในถึงน้ำเกลือ

4.2. PK

4.2.1. absorb

4.2.1.1. Ex

4.2.1.1.1. ยาไปเปลี่ยนแปลง pH ในGI

4.2.1.1.2. ยาไปทำให้เกิด complex หรือไปดูดซับสารอื่น

4.2.1.1.3. ยาไปเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนไหวของ GI มีผลทำให้การดูดซึมเปลี่ยนแปลง

4.2.1.1.4. ขัดขวางการดูดซัมมของยาอื่น

4.2.1.1.5. ทำลายแบคทีเรียในลำไส้

4.2.2. protein biding interaction

4.2.3. enzyme metabolism

4.2.3.1. induce

4.2.3.2. inhibit

4.2.4. Excretion

4.2.4.1. เปลี่ยนแปลง pH ในปัสสาวะ

4.2.4.2. active tubular secretion

4.2.4.3. ยาไปมีผลเปลี่ยนแปลงการไหลเวัยนเลือดที่ไต

4.3. PD

4.3.1. synergistic interaction

4.3.2. antogonistic interaction

4.3.2.1. ex.vit K ต้านฤทธิ์ anticoagulant

4.3.3. ขัดขวางการ ขนส่ง,uptake ยา