พรบ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พรบ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 by Mind Map: พรบ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551

1. ลักษณะ2 คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม

1.1. กรรมการ ก.พ.ค.

1.1.1. คุณสมบัติ

1.1.1.1. สัญชาติไทย

1.1.1.2. ไม่ต่ำกว่า25ปี

1.1.1.3. มีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง

1.1.1.3.1. เคยเป็นกรรมการทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน/ครู/ครูและบุคคลาการการศึกษา/ตำรวจ

1.1.1.3.2. เป็น/เคยกรรมการกฤษฎีกา

1.1.1.3.3. รับราชการ/เคยรับราชการ ตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลอุธรณ์/เทียบเท่าหรือตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น

1.1.1.3.4. รับราชการ/เคยตำแหน่งไม่ต่ำกว่าอัยการพิเศษประจำเขต/เทียบเท่า

1.1.1.3.5. เคย/เป็นผู้สอนวิชา นิติรัฐศาสตร์ รปศ เศรษฐศาสตร์ สังคมสาสตร์ วิชาเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินในสถาบันอุดมศึกษา หรือดำรง/เคย ตำแหน่งไม่ต่ำกว่า รศ ถ้าเป็น รศห้ามน้อยกว่า ปี

1.1.1.4. ถ้าเป็นคนต้องห้ามต้องลาออก แล้วแสดงหลักฐานว่าออกแล้วให้เลขา กพค ภายในวันนับแต่ได้รับคัดเลือก

1.1.2. ลักษณะต้องห้าม

1.1.2.1. เป็นข้าราชการ

1.1.2.2. เป็น พนง/ลูกจ้างของหน่วยงานรัฐ

1.1.2.3. เกี่ยวข้องกับการเมือง

1.1.2.4. เป็นกรรมการในรัฐวิสาหกิจ

1.1.2.5. เป็นกรรมการในองค์กรกลางบริหารงานบุคคลในหน่วยงานรัฐ

1.1.3. พ้นตำแหน่ง

1.1.3.1. ตาย

1.1.3.2. ลาออก

1.1.3.3. อายุ70

1.1.3.4. โดนสั่งจำคุก ยกเว้นรอ ลงโทษในความผิดโดยประมาท

1.1.3.5. ทำงานไม่เต็มเวลาไม่สม่ำเสมอ

1.1.4. วาระ6 ปี วาระเดียว

1.1.5. อำนาจหน้าที่

1.1.5.1. เสนอแนะก.พ./องคืกรกลางบริหารงานบุคคล ปรับปรุงนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล ในส่วนเกี่ยวกับพิทักคุณธรรม

1.1.5.2. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์

1.1.5.3. พิจารณาเรื่องร้องทุกข์

1.1.5.4. พิจารณาเรื่องการคุ้มครอง ระบบคุณธรรม

1.1.5.5. ออกกฏ ก.พ.ค.ระเบียบหลักเกณฑ์ เพื่อปฏิบัติตรม พรบ.นี่

1.1.5.6. แต่งตั้งคนที่มีคุณสมบัติ/ไม่มีลักษณะต้องห้าม เพื่อเป็นกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์

1.2. ต้องทำงานเต็มเวลา มีกรรมการ7คน

2. ลักษณะ3 ทั่วไป

2.1. ประเภทข้าราชการพลเรือน

2.1.1. ข้าราชการพลเรือนสามัญ

2.1.1.1. ได้รับบรรจุแต่งตั้งตามบัญญัติไว้

2.1.1.2. คุณสมบัติ

2.1.1.2.1. สัญชาติไทย

2.1.1.2.2. ไม่ต่ำกว่า18

2.1.1.2.3. เลื่อมใสการปกครองประชาธิปไตย

2.1.1.3. ห้าม

2.1.1.3.1. ดำรงตำแหน่งการเมือง

2.1.1.3.2. ไร้ความสามารถ วิกลจริต

2.1.1.3.3. อยู่ระหว่างสั่งพักราชการ/ไล่ออก

2.1.1.3.4. บกพร่องศีลธรรมจนสังคมรังเกียจ

2.1.1.3.5. ล้มละลาย

2.1.1.3.6. เคยติดคุก

2.1.1.3.7. เคยโดนปลดเพราะผิดวินัย

2.1.1.3.8. เคยโดยไล่ออกเพราะผิดวินัย

2.1.1.3.9. เคยทุจริตสอบราชการ

2.1.2. ข้าราชการพลเรือนในพระองค์

2.1.2.1. ได้บรรจุแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในพระองค์ของกษัตริย์ตามกำหนดในราชกิจจานุเบกษา

3. ลักษณะ4 ข้าราชการพลเรือนสามัญ

3.1. การรับคนเข้ามาเป็น

3.1.1. คำนึงถึงความรู้ ความสามารถ ความเสมอภาค ประโยชนืทางการชการ ความเป็นธรรม

3.2. การบริหารทรัพยากรบุคคล

3.2.1. คำนึงถึงผลสัมฤทธิ์/ประสิทธิภาพองคืกร/ลักาณะงาน

3.2.2. ต้องเป็นกลางทางการเมือง

3.3. พิจารณาความดีความชอบ/เลื่อนตำแหน่ง

3.3.1. ดูจากศักยภาพ/ความประพฤติ/ผลงาน

3.4. ตำแหน่ง

3.4.1. ตำแหน่งประเภทบริหาร

3.4.1.1. ระดับต้น

3.4.1.2. ระดับสูง

3.4.2. ตำแหน่งประเภทอำนวยการ

3.4.2.1. ระดับต้น

3.4.2.2. ระดับสูง

3.4.3. ตำแหน่งประเภทวิชาการ

3.4.3.1. ระดับปฏิบัติการ

3.4.3.2. ระดับชำนาญการ

3.4.3.3. ระดับชำนาญการพิเศษ

3.4.3.4. ระดับเชี่ยวชาญ

3.4.3.5. ระดับทรงคุณวุฒิ

3.4.4. ตำแหน่งประเภททั่วไป

3.4.4.1. ระดับปฏิบัติงาน

3.4.4.2. ระดับชำนาญงาน

3.4.4.3. ระดับอาวุโส

3.4.4.4. ระดับทักาะพิเศษ

3.5. การบรรจุ

3.5.1. จากคนสอบได้ในตำแหน่งนั้น

3.5.2. ดำรงตำแหน่งการเมืองมีสิทธิสอบได้ แต่จะได้บรรจุเมื่อพ้นตำแหน่งการเมือง

3.6. จรรยาบรรณ

3.6.1. ยึดมั่นยืนหยัดทำสิ่งถูก

3.6.2. ซื่อสัตย์รับผิดชอบ

3.6.3. ทำหน้าที่โปร่งใสตรวจสอบได้

3.6.4. ทำหน้าที่ไม่เลือกปฏิบัติ

3.6.5. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน

3.7. ถ้าไม่ทำตามจรรยาบรรณ

3.7.1. ผู้บังคับบัญชาตักเตือนมีผลต่อการพิจาณาเลื่อนขั้น

3.8. โทษทางวินัย

3.8.1. เหมือนครู

3.9. ออกจากราชการเมื่อ

3.9.1. ตาย

3.9.2. พ้นจากราชการแบบได้บำเหน็จบำนาญ

3.9.3. ลาออก

3.9.4. โดนสั่งให้ออก

3.9.5. โดนสั่งปลด

3.9.6. ไล่ออก

4. พัฒนา ส่งเสริม วิเคราะห์ วิจัยนโยบายยุทธศาสตร์ หลักเกณฑ์มาตรฐานการบริหารทรัพยากรมนุษย์

5. นิยาม

5.1. ให้ไว้ 23 มค. 51 บังคับใช้ถัดจากวันประกาศในราชกิจ

5.2. ข้าราชการพลเรือน

5.2.1. คนที่ได้บรรจุแต่งตั้งตาม พรบ.นี้ให้รับราชการ ได้เงินเดือนจากงบในกระทรวง กรม ฝ่ายพลเรือน

5.3. ข้าราชการฝ่ายพลเรือน

5.3.1. ข้าราชการพลเรือนและข้าราชการอื่นในกระทรวง กรม ฝ่ายพลเรือน

5.4. กระทรวง

5.4.1. รวมถึงสำนักนายกและทบวง

5.5. รัฐมนตรีเจ้าสังกัด

5.5.1. รมต.ว่าการกระทรวง และ รมต.ว่าการทบวง

5.6. ปลัดกระทรวง

5.6.1. ปลัดสำนักนายกและปลัดทบวง

5.7. กรม

5.7.1. ส่วนราชการที่ฐานะเป็นกรม

5.8. อธิบดี

5.8.1. หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม/เทียบเท่า

6. ลัษณะ1 คณะกรรมข้าราชการพลเรือน

6.1. (ก.พ.) ดำรงตำแหน่ง3ปี ตำแหน่งว่างต้องแต่งตั้งภายใน 30วัน

6.2. หน้าที่

6.2.1. เสนอแนะ/ให้คำปรึกษา ครม.เกี่ยวกับนโยบายยุทธศาสตร์ การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ

6.2.2. รายงาน ครม.เพื่อพิจารณาปรับปรุงเงินเดือน/เงินประจำตำแหน่ง ให้เหมาะสม

6.2.3. กำหนดหลักเกณฑ์/วิธีการมาตรฐานการบริหารทรัพยากรบุคคลข้าราชการพลเรือน

6.2.4. ให้ความเห็นชอบกรอบอีตรากำลังส่วนราชการ

6.2.5. ออกกฏ ก.พ./ระเบียบเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล

6.2.6. กำกับดูแล ติดตามตรวจสอบประเมินการบริหารทรัพยากรบุคคล

6.2.7. กำหนดนโยบาย/ระเบียบเกี่ยวกับทุนเล่าเรียนหลวง ทุนรัฐบาลให้สอดคล้องนโยบายบริหารทรัพยากรบุคคล

6.2.8. กำหนดเกณฑ์/วิธีการรับรองคุณวุฒิของผู้ได้ปริญญา ปวช./วุฒิอื่น เพื่อประโยชน์ในการบรรจุข้าราชการพลเรือน

6.2.9. กำหนดค่าธรรมเนียมในการปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล

6.2.10. พิจารณาจัดระบบทะเบียบประวัติ/แก้ไข ทะเบียน ว/ด/ป เกิดและควบคุมเกษียณอายุราชการพลเรือน

6.3. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สำนักงานก.พ.)

6.3.1. เลขาธิการ ก.พ. เป็นผู้บังคับบัญชา ขึ้นตรงต่อนายก

6.3.2. อำนาจหน้าที่

6.3.2.1. เป็น จนท.เกี่ยวกับการดำเนินงานในหน้าที่ ก.พ.และก.พ.ค.

6.3.2.2. เสนอแนะ/ให้คำปรึกษา กระทรวง ทบวง กรม เกี่ยวกับวิธีแนวทางบริหารทรัพยากรบุคคล

6.3.2.3. ติดตาม/ประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการพลเรือน

6.3.2.4. ดำเนินการเกี่ยวกับแผนกำลังคนของข้าราชการพลเรือน

6.3.2.5. เป็นศูนย์กลางข้อมูลทรัพยากรบุคคลภาครัฐ

6.3.2.6. ทำยุทธศาสตร์ประสานดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคล

6.3.2.7. ดำเนินการเกี่ยวกับทุนเล่าเรียนหลวง/ทุนรัฐบาล

6.3.2.8. ดำเนินการเรื่องการรับรองคุณวุฒิของผู้ได้ปริญญา ปวช./วุฒิอื่น เพื่อประโยชน์ในการบรรจุข้าราชการพลเรือน

6.3.2.9. ทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลในข้าราชการพลเรือน เสนอ ก.พ. และ ครม.

6.4. คณะอนุกรรมการสามัญ (อ.ก.พ.สามัญ)

6.4.1. เป็นองค์กรบริหารทรัพยากรบุคคลในส่วนราชการต่างๆ

6.4.2. อ.ก.พ.กระทรวง

6.4.2.1. อำนาจหน้าที่

6.4.2.1.1. กำหนดนโยบาย ระบบ ระเบียบวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคลในกระทรวง

6.4.2.1.2. พิจารณาเกลี่ยอัตรกำลังระหว่างส่วนราชการต่างๆในกระทรวง

6.4.2.1.3. พิจารณาเกี่ยวกับดำเนินการทางวินัย/การสั่งให้ออกจากราชการตามที่บัญญัติไว้

6.4.3. อ.ก.พ.กรม

6.4.3.1. อำนาจหน้าที่

6.4.3.1.1. พิจารณากำหนดนโยบาย ระบบ ระเบียบวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคลในกรม

6.4.3.1.2. พิจารณาเกลี่ยอัตรกำลังระหว่างส่วนราชการต่างๆในกรม

6.4.3.1.3. พิจารณาเกี่ยวกับดำเนินการทางวินัย/การสั่งให้ออกจากราชการตามที่บัญญัติไว้

6.4.4. อ.ก.พ.จังหวัด

6.4.4.1. อำนาจหน้าที่

6.4.4.1.1. พิจารณากำหนดแนวทางและวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคล

6.4.4.1.2. พิจารณาเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย/การสั่งให้ออกจากราชการ

6.4.4.1.3. ปฏิบัติตามหน้าที่ อ.ก.พ.กระทรวง/อ.ก.พ.กรมมอบหมาย

7. ลักษณะ5 ข้าราชการพลเรือนในพระองค์

7.1. การแต่งตั้ง/ให้พ้นจากตำแหน่งให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย