9 การเลือกตั้ง

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
9 การเลือกตั้ง by Mind Map: 9 การเลือกตั้ง

1. ประเภทของสิทธิของการเลือกตั้ง

1.1. 1. เลือกตั้งทั่วไป - การเลือกตั้งมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วประเทศมาลงคะแนนเสียงพร้อมๆกัน โดยทั่วไปมี 2 กรณี คือ [กครบวาระต้องมีการเลือกตั้ง] //// [ยุบสภาพผู้แทนราษฎร]

1.2. 2.การเลือกตั้งซ่อม - เนื่องจากผู้แทน ตาย ลาออก หรือเพราะเหตุอื่นๆ ไม่สำคัญเท่าการเลือกตั้งทั่วไป อาาจะเป็นเครื่องมือวัดค.นิยมพรรคการเมืองหรอรัฐบาลก็ได้

1.3. 3. การเลือกตั้งซ้ำ - จัดขึ้นในเขตใดเขตหนึ่งเฉพาะ อาจเกิดการฟ้องร้องว่ามีการทุจริต ศาลอาจสั่งให้การเลือกตั้งครั้งนั้นเป็นโมฆะ

2. สิทธิในการเลือกตั้ง

2.1. 1. สิทธิในการสมัครรับเลือกตั้ง - ต้องมีคุณสมบัติตามกำหนด เช่น อายุ สัญชาติ ความรู้ ตำแหน่ง

2.2. 2. สิทธิในการออกเสียงเลือกตั้ง ในแนวปฏิบัติปชช.ทุกคนก็ไม่อาจให้ทุกคนใช้สิทธินี้ได้ บางคนที่ถูกจำกัดสิทธิ เช่น ต่างด้าว คนคุก คนบ้า

3. เขตเลือกตั้ง

3.1. แบบรวมเขต Multimember - การกำหนดเขตปรกครองเป็นเขตเลือกตั้ง ผู้มีิสิทธิแต่ละเขตมีสิทธิลงคะแนนเสียงได้ในเขตนั้นๆ

3.2. แบบแบ่งเขต Single-member - การแบ่งเขตเลือกตั้งให้มีผู้แทนได้คนเดียว ปชช.มีสิทธิออกเสียงเลือกผู้สมัครได้เพียงคนเดียว

4. ความหมาย การเลือกบุคคลเพื่อเป็นตัวแทนในกรณีต่างๆ

5. หลักเกณ์การเลือกตั้งที่เป็นประชาธิปไตย

5.1. 1. การเลือกตั้งแบบอิสระ Free Election เป็ไปอย่างเสรี ไม่มีการบังคับข่มขู่ การใช้สิทธิ์เป็นไปอย่างสมัครใจ

5.1.1. การเลือกตั้งควรเป็ฯสิทธิ มีอิสระเต็มที่ในการเลือก หรือไม่เลือกก็ได้

5.1.2. เป็นหน้าที่ โดย่ปชช.ทุกคนมีหน้าที่ไปออกเสียงเลือกตั้ง

5.2. 2. การเลือกตั้งตามกำหนดเวลา คือจัดมีเลือกตั้งตามกำหนดเวลา เช่น 2 4 6 ปี เพื่อให้ปชช.มีการตรวจสอบการทำหน้าที่ว่าทำไปตามนโยบายหรือไม่

5.3. 3. การเลือกตั้งอย่างแท้จริงและยุติธรรม เป็นไปตามตัวกฏหมายโดยไม่มีการครอบงำหรือกุสโลบายทางการเมือง มีลักษณะสำคัญคือ

5.3.1. มีผู้สมัครให้เลือกหลายคน

5.3.2. รัฐต้องยอมให้บุคคลที่เห็นต่างกันลงแข่งขันได้

5.4. 4. การเลือกตั้งอย่างทั่วถึง ปชช.ทุกคนโดยทั่วไปมีสิทธิไปเลือกตั้งโดยไม่มีการกีดกัน

5.4.1. รัฐต้องให้สิทธเลือกตั้งแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง ไม่กีดกันเพศ สีผิว

5.4.2. รัฐต้องอำนวยค.สะดวกแกปชช.

5.5. 5. การเลือกตั้งอย่างเสมอภาค การมีสิทธิของปชช.มีค.สำคัญและได้รับค.ยอมรับอย่างเท่าเทียมกัน

5.5.1. ทุกคนต้องมีคะแนนเสียงเท่ากัน

5.5.2. น้ำหนักของคะแนนเสียงแต่ละบุคคลย่อมเท่ากัน