การวิเคราะห์งบการเงิน
by rattanakorn detauthai
1. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์งบการเงิน
2. กลุ่มผู้ใช้ประโยชน์จากการวิเคราะห์งบการเงิน
3. ขั้นตอนการวิเคราะห์งบการเงิน
4. ข้อจํากัด
5. วิธีการบันทึกบัญชีที่แตกต่างกัน
6. การใช้เหตุการณ์ในอดีตเป็นเครื่องชี้เหตุการณ์ในอนาคต
7. ไม่มีมาตรฐานในการวัดที่แน่นอน
8. ข้อมูลที่มีความไม่เที่ยงตรงหรือเปลี่ยนแปลงในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
9. การเปลี่ยนแปลงค่าของเงินที่ใช้เป็นหน่วยวัดทางบัญชี
10. การจัดหาข้อมูล
11. ดุลพินิจของผู้วิเคราะห์
12. . ผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของกิจการ หมายถึง ผู้ถือหุ้นสามัญซึ่งมีฐานะเป็นเจ้าของบริษัท
13. . เจ้าหนี้หรือผู้ให้กู้
14. ฝ่ายบริหาร
15. 1.กำหนดวัตถุประสงค์
16. 2.รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
17. 3.การปรับสภาพข้อมูล
18. 4.การเลือกวิธีวิเคราะห์
19. 5.การแปลความหมาย
20. 6.การจัดรายงานและสรุปผล
21. การวิเคราะห์งบการเงินโดยใช้อัตราส่วนทางการเงิน
22. อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง
23. อัตราส่วนวัดประสิทธิภาพในการบริหารสินทรัพย์
24. อัตราส่วนวัดสภาพหนี้สิน
25. อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไร
26. ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิเคราะห์งบการเงิน
27. . เพื่อวางแผนทางการเงิน
28. เป็นข้อมูลในการบริหารเงินสด ทรัพย์สิน และทุนของ หน่วยงาน
29. . นำข้อมูลจากงบการเงินไปจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง จำกัดไปบริหารให้เกิดประโยชน์สูงสุด
30. . วางแผน – พยากรณ์ ในการลงทุนเพื่อการดำเนินงาน
31. ประกอบการตัดสินใจในการดำเนินงาน การพัฒนา องค์กร และการบริหาร
32. การวิเคราะห์งบการเงินโดยวิธีแนวนอน
33. การวิเคราะห์งบการเงินโดยวิธีแนวตั้ง
34. การวิเคราะห์แนวโน้ม
35. การวิเคราะห์งบกระแสเงินสด