1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการManagement Information System MIS
1.1. การนำไปใช้งานสามารถแบ่งได้ 4 ระดับดังนี้
1.2. 1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการวางแผนนโยบาย กลยุทธ์ และการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง
1.3. 2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในส่วนยุทธวิธีในการวางแผนการปฏิบัตและการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลาง
1.4. 3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในระดับปฎิบัติการและการควบคุมในขั้นตอนนี้ผู้บริหารระดับล่างจะเป็นผู้ใช้สารสนเทศเพื่อช่วยในการปฎิบัติงาน
1.5. 4. ระบบสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล
1.6. แบ่งระบบสารสนเทศออกเป็นระบบย่อย 4 ส่วนได้แก่
1.7. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing System :TPS)
1.8. ระบบจัดการรายงาน (Management Reporting System :MRS)
1.9. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System :DSS)
1.10. ระบบสารสนเทศสำนักงาน (Office Information System :OIS)
2. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System) DSS
2.1. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System) เป็นระบบย่อยหนึ่งในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โดยที่ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะช่วยผู้บริหารในเรื่องการตัดสินใจในเหตุการณ์หรือกิจกรรมทางธุรกิจที่ไม่มีโครงสร้างแน่นอน
2.2. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ คืออะไร
2.3. DSS เป็นซอฟแวร์ที่ช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างตัวแบบที่ซับซ้อน ภายใต้ซอฟต์แวร์เดียวกัน นอกจากนั้น DSS ยังเป็นการประสานการทำงานระหว่างบุคลากรกับเทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์ โดยเป็นการกระทำโต้ตอบกัน
3. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร Executive Information Systems :EIS
3.1. การจัดการระบบสารสนเทศได้รับการยอมรับว่ามีความสำคัญต่อความสำเร็จในการ ดำเนินธุรกิจ
3.1.1. ข้อดีของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร1. ง่ายต่อการใช้งานของผู้ใช้โดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง
3.1.2. 1. ง่ายต่อการใช้งานของผู้ใช้โดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง
3.1.3. 2. ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้อย่างลึกซึ้งในเรื่องคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.1.4. 3. ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้ในเวลาสั้น
3.1.5. 4. ช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจสารสนเทศที่นำเสนออย่างชัดเจน
3.1.6. 5. ประหยัดเวลาในการดำเนินงานและการตัดสินใจ
3.1.7. 6. สามารถติดตามและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.8. ข้อจำกัดของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
3.1.9. 1. มีข้อจำกัดในการใช้งาน เนื่องจาก EIS ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะอย่าง
3.1.10. 2. ข้อมูลและการนำเสนออาจไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริหาร
3.1.11. 3. ยากต่อการประเมินประโยชน์และผลตอบแทนที่องค์การจะได้รับ
3.1.12. 4. ไม่ถูกพัฒนาให้ทำการประมวลผลที่ซับซ้อนและหลากหลาย
3.2. คุณสมบัติของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
3.3. 1. สนับสนุนการวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning Support)
3.4. 2. เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร (External Environment Focus)
3.5. 3. มีความสามารถในการคำนวณภาพกว้าง (Broad-based Computing Capabilities)
3.6. 4. ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน (Exceptional Ease of Learning and Use)
4. ระบบสำนักงานอัตโนมัติ Office Automation
4.1. เป็นแนวคิดในการนำเอาระบบเครือข่ายมาใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สำนักงานต่าง ๆ และผนวกด้วยซอฟต์แวร์สำหรับช่วยงานในสำนักงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการให้เป็นสำนักงานไร้กระดาษ โดยให้ทำงานต่อไปนี้ - สื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติงานโดยใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ - จัดพิมพ์เอกสารต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และมีคุณภาพ ประโยชน์ของสำนักงานอัตโนมัติ ประหยัดงบประมาณค่าใช้จ่าย ช่วยลดต้นทุนในการบริหาร ประหยัดพื้นที่ในการเก็บข้อมูล
4.1.1. องค์ประกอบของสำนักงานอัตโนมัติ ประกอบด้วย บุคลากร ได้แก่ ผู้จัดการหรือผู้บริหารทุกระดับ นักวิชาชีพ (เช่น นักบัญชี ผู้ตรวจสอบภายใน สถาปนิก นักกฎหมาย นักวิจัย เป็นต้น) นักเทคนิค เลขานุการ กระบวนการปฏิบัติงาน ได้แก่การรับเอกสารและข้อมูล เช่นส่งผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์การบันทึกเอกสารและข้อมูล งานด้านนี้จะปรับเปลี่ยนเป็นการบันทึกลงในระบบคอมพิวเตอร์มากขึ้น การสื่อเอกสารและข้อมูล จะมีทั้งการส่งออกที่เป็นกระดาษและเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ไปยังพนักงานกลุ่มต่าง ๆ การกระจายข่าวสาร กรณีการกระจายข่าวสารไปยังผู้รับจำนวนมาก สามารถส่งผ่านระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกศ์ที่มีความสะดวกและรวดเร็ว เทคโนโลยีเพื่อสำนักงานอัตโนมัติ ประกอบด้วย เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ซึ่งมี 4 ระดับ คือ ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เทคโนโลยีโทรคมนาคม ได้แก่ โทรศัพท์ ระบบประชุมทางไกล เทคโนโลยีสำนักงาน เทคโนโลยีภาพกราฟฟิกได้แก่ งานประมวลผลภาพกราฟิก เช่นงานสแกน เครื่องมือที่ใช้งานภาพกราฟิก เชืนเครื่องพิมพ์เลเซอร์ และโปแกรมอ่านอักขระด้วยแสง
5. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems :TPS)
5.1. ระบบประมวลผลรายการ หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ใช้ในการเปลี่ยนข้อมูลดิบจากการปฏิบัติงานให้อยู่ในรูปแบบที่เครื่องจักรสามารถอ่านได้ระบบประมวลผลรายการสามารถแบ่งตามวิธีการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ 1 ระบบการประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing System) 2 ระบบการประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing System) รายการถูกประมวลผลเมื่อเกิดรายการนั้นขึ้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ2.1 การประมวลผลเชิงรายการ (Transactional Processing)2.2 การประมวลผลแบบทันที (Real-time Processing)
5.1.1. ระบบสารสนเทศแบบประมวลรายการ (Transaction Processing Systems -TPS) เป็นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบันทึกและประมวลข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมหรือการปฏิบัติงานประจำหรืองานขั้นพื้นฐานขององค์การ เช่น การซื้อขายสินค้า การบันทึกจำนวนวัสดุคงคลัง วัตถุประสงค์ของ TPS1) มุ่งจัดหาสารสนเทศทั้งหมดที่หน่วยงานต้องการตามนโยบายของหน่วยงานหรือตามกฎหมาย เพื่อช่วยในการปฏิบัติงาน
5.1.2. 1)มุ่งจัดหาสารสนเทศทั้งหมดที่หน่วยงานต้องการตามนโยบายของหน่วยงานหรือตามกฎหมาย เพื่อช่วยในการปฏิบัติงาน
5.1.3. 2) เพื่อเอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติงานประจำให้มีความรวดเร็ว
5.1.4. 3) เพื่อเป็นหลักประกันว่าข้อมูลและสารสนเทศของหน่วยงานมีความถูกต้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและรักษาความลับได้
5.1.5. 4) เพื่อเป็นสารสนเทศที่ป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบสารสนเทศที่ใช้ในการตัดสินใจอื่น เช่น MRS หรือ DSS หน้าที่ของ TPS
6. ระบบปัญญาประดิษฐ์และระบบผู้เชี่ยวชาญ Artificial Intelligence System and Expert System
6.1. ปัญญาประดิษฐ์ คือ ศาสตร์แขนงหนึ่งทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มีพื้นฐานมาจากวิชา ชีววิทยา จิตวิทยา ภาษาศาสตร์ ฯลฯ
6.1.1. ลักษณะงานของปัญญาประดิษฐ์ แบ่งได้ 3 ประเภทคือ
6.1.2. 1.Cognitive Sciene
6.1.3. -ระบบผู้เชียวชาญ (Expert systems)
6.1.4. -ระบบเครือข่ายนิวรอน (Neural Network)
6.1.5. 2.Robotics
6.1.6. 3.Notural Interface
6.1.7. ระบบที่มีความสามารถในการเข้าใจภาษามนุษย์ (Natural Languag )
6.1.8. ระบบภาพเสมือนจริง (Virtual Reality)