ทฤษฏีการเรียนรู้โดยมัลติมีเดีย (The Cognitive Theory of Multimedia Learning)

Track and organize your meetings within your company

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ทฤษฏีการเรียนรู้โดยมัลติมีเดีย (The Cognitive Theory of Multimedia Learning) by Mind Map: ทฤษฏีการเรียนรู้โดยมัลติมีเดีย (The Cognitive Theory of Multimedia Learning)

1. ทฤษฎีการเรียนรู้โดยมัลติมีเดียอธิบายว่า ระบบที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการการเรียนรู้ของมนุษย์มีอยู่ 3 ระบบ ได้แก่ ระบบรับความจำโดยประสาทรับความรู้สึก (sensory memory) ระบบความจำในช่วงที่ทำงานอยู่หรือช่วงสั้น (working memory) และระบบความจำในระยะยาว (long-term memory)

1.1. ระบบความจำในระยะยาว (long-term memory)

1.2. ระบบความจำในช่วงที่ทำงานอยู่หรือช่วงสั้น (working memory)

1.3. ระบบความจำในระยะยาว (long-term memory)

2. เมื่อผู้เรียนรับข้อมูลเข้าไปในรูปของเสียงหรือภาพ ข้อมูลนั้น ๆ จะถูกจำไว้ในช่วงสั้น ๆ ที่ sensory memory จากนั้น ภาพและเสียงบางส่วนจะถูกจดจำไว้ใน working memory แล้วจะมีการจัดแจงภาพและเสียงย่อย ๆ เหล่านี้ให้เป็นกลุ่มเป็นก้อน ทำให้เกิดความรู้ในรูปของภาพและเสียง มวลความรู้เหล่านี้อาจจะเข้าไปรวมกับความรู้เดิมในส่วนของความจำในระยะยาวหรือไปรวมกับกลุ่มความรู้อื่น

3. Mayer (2001) ซึ่งพัฒนามาจากทฤษฏี Dual Coding ของ Pavio (1990)

4. อ้างอิง

4.1. วิชิต เทพประสิทธิ์.การประยุกต์ใช้ทฤษฎี Visual/ Verbal. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จากhttps://www.gotoknow.org/posts/106987(สืบค้นวันที่ 26 สิงหาคม 2560)

4.2. พงษ์ปณต กองสุข.เทคนิคดึงความสนใจการสอน Visual/ Verbal. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จากhttp://digi.library.tu.ac.th/thesis/st/0035/10%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%882.pdf(สืบค้นวันที่ 26 สิงหาคม 2560)

4.3. สุธา เหลือลมัย.รูปแบบของสื่อภาพกราฟิกที่เหมาะสมสำหรับการเรียนรู้ Visual/ Verbal. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จากhttp://www.rs.mahidol.ac.th/rs-journal/vol.10/10-005.pdf(สืบค้นวันที่ 26 สิงหาคม 2560)