1. กลไกการออกฤทธิ์
1.1. ยับยั้งการส้รางผนังเซลล์
1.1.1. Beta lactam antibiotic
1.1.1.1. Penicillin
1.1.1.1.1. Natural penicillins
1.1.1.1.2. Penicillinase-resistant penicillin กินก่อนอาหาร 1x4 ac
1.1.1.1.3. Aminopenicillin ทนกรดแล้วกิน 1x3 pc
1.1.1.1.4. Antipseudomonas penicillins
1.1.1.2. Cephalosporins
1.1.1.2.1. Gen 1: Cefazolin, Cephalexin : ฆ่าแกรม+ส่วนใหญ่
1.1.1.2.2. Gen2: Cefuroxime, Cefoxitin ทนต่อ Beta lactamase มากขึ้น ฆ่าแกรมลบได้มากขึ้น
1.1.1.2.3. Gen3: Ceftriaxone cefotaxime, Ceftazidime
1.1.1.2.4. Gen4: Cefopirome, Cefepime ฆ่า Anaerobe, Ps.aeruginosa
1.1.1.3. Carpenems
1.1.1.3.1. Imipenem, Meropenem
1.1.1.3.2. ทนต่อ Betalactamase ได้ดี
1.1.1.3.3. Cilastatin ช่วยลดพิษต่อไตและทำให้ยาออกฤทธิ์ได้ยาวนานขึ้น
1.1.1.4. Monobactams
1.1.1.4.1. Aztronam
1.1.1.5. Beta-lactamse inhibitor
1.1.1.5.1. Clavulanic acid
1.1.1.5.2. Salbactam
1.1.1.5.3. อาการข้างเคียงได้แก่ ท้องเดิน คลื่นไส้ อาเจียน
1.1.1.5.4. ช่วยป้องกันยาไม่ให้ถูกทำลายได้จาก Beta lactamase
1.1.1.6. ส่วนใหญ่ฆ่าแกรมบวก แต่Gen สูงๆสามารถฆ่าแกรมลบได้ด้วย
1.2. ออกฤทธิ์ที่ cell membrane ทำให้เซลล์รั่ว
1.3. ยับยั้งการสังเคราห์โปรตีน
1.3.1. Aminoglycoside
1.3.1.1. Strptomycin, Kanamycin Gentamicin
1.3.1.2. อาการข้างเคียงที่สำคัญ
1.3.1.2.1. พิษต่อหู (Ototoxicity)
1.3.1.2.2. พิษต่อไต (Nephrotoxicity)
1.3.1.2.3. กล้ามเนื้อ่อนแรง(Paralysis)
1.3.1.2.4. ชารอบปาก
1.3.2. Macrolide(แพ้ Amoxyให้กินยากลุ่มนี้แทน) : เป็นยา Bacteriostatic
1.3.2.1. Erythromycin, Roxithromycin, Clarithromycin, Azithromycin
1.3.2.2. Clarithromycin:ใช้ฆ่า H.pylori สาเหตุของโรคกระเพาะได้
1.3.2.3. Azothromycin: ฆ่า H.influenzae ได้
1.3.3. Tetracyclines
1.3.3.1. Doxycyline, Minocycline
1.3.3.1.1. อาการข้างเคียงที่สำคัญ
1.3.4. Chloramphenical : ออกฤทธิ์แบบ Bacteriostatic
1.3.4.1. อาการข้างเคียงสำคัญ Grey syndrome
1.4. ยับยั้งการสังเคราห์กรดนิวคลิอิก
1.4.1. Fluoroquinolone
1.4.1.1. Norfloxacin, Ofloxacin, Ciprofloxacin
1.4.1.2. ส่วนใหญ่ฆ่าแกรมลบ แต่ Genสูงๆสามารถฆ่าแกรมบวกได้ด้วย
1.4.1.3. Levofloxacin สามารถฆ่า S.pneumoniae ได้ที่ทำให้เกิดปอดบวม
1.4.1.4. ยาในกลุ่มนี้ห้ามกินพร้อมนมหรือยาลดกรด
1.4.2. Sulfonamides
1.4.2.1. Silversulfadiazine : รักษาแผลไฟไหม้
1.4.2.2. Bactrim: Cotrimoxazole: Sulfamethoxazole400mg +trimethoprim 80mg ออกฤทธิ์ Bactericidal (ยาในกลุ่มซัลฟาถ้าตัวเดี่ยวๆจะออกฤทธิ์แค่ Bacteriostatic)
1.4.2.2.1. ใช้รักษา PCP ในผู้ป่วย HIV
1.4.2.3. อาการข้างเคียง
1.4.2.3.1. ผื่นแพ้แบบ SJS
1.4.2.3.2. ห้ามใช้ในคนไข้ G-6PD จะทำให้เลือดแตกได้
1.4.2.3.3. นิ่วในไต
1.5. ยับยั้งการสังเคราห์ DNA
1.6. อื่นๆ
1.6.1. Metronidazole
1.6.1.1. เด่นเรื่องการออกฤทธิ์ใน Anaerobic becteria และ Protozoa
1.6.1.2. ห้ามกินพร้อมกับแอลกอฮอล์
1.6.2. Licomycin
1.6.2.1. Clindamycin
1.6.2.1.1. ฆ่าพวก Anaerobic ได้เช่นกัน
1.6.3. Vancomycin
1.6.3.1. อาการข้างเคียงสำคัญ
1.6.3.1.1. พิษต่อหู และไต
1.6.3.1.2. Red neck syndrome*
1.6.4. Colistin
1.6.4.1. เป็นยาไม้ตายในการฆ่าเชื้อแกรมลบ
2. นิยาม
2.1. Antimicrobial : ได้จากสารสังเคราะห์และยาปฏิชีวนะ
2.2. Antibiotic:สร้างจากเชื้อจุลชีพ
2.3. ทบทวนความรู้เดิม
2.3.1. แบคทีเรียแกรมลบ : ย้อมติดสีแดง
2.3.2. แบคทีเรียแกรมบวก : ย้อมติดสีน้ำเงิน
2.3.3. แบคทีเรียไม่ใช้ออกซิเจน : Anaerobic bacteria
2.3.4. แบคทีเรียใช้ออกซิเจน : Aerobic bacteria
2.4. Bacteriocidal : ฆ่าแบคทีเรีย
2.5. Bacteriostatic : ยับยั้งแบคทีเรีย
2.6. Broad spectrum : ออกฤทธิ์กว้าง ฆ่าได้เยอะ
2.7. Narrow spectrum : ออกฤทธิ์แคบ ฆ่าได้น้อย
3. กลไกการดื้อยา
3.1. สร้างเอนไซม์มาทำลายยา
3.2. เปลี่ยนโครงสร้างของตัวรับยา
3.3. ลดปริมาณยาที่สะสมในแบคทีเรีย
3.4. สร้าง Metabolism pathway
4. ยารักษาวัณโรค
4.1. ยาสูตรแรก 2HRZE+4HR
4.2. Isoniazid : INH ยาหลักในการรักษา
4.2.1. มีพิษต่อตับค่อนข้างมาก
4.2.2. เพิ่มระดับยากันชักได้
4.3. Rifampicin: R
4.3.1. ทำให้สารคัดหลั่งเป็นสีแดง
4.3.2. ตับอักเสบได้
4.4. Ethambutol:E
4.4.1. การมองเห็นสีเขียว แดงเปลี่ยนไป
4.5. Pyrazinamide :Z
4.5.1. พิษต่อตับสูง
4.5.2. ยับยั้งการขับยูริก
4.5.3. ปวดข้อ อ่อนเพลีย
4.6. Streptomycin
4.6.1. ระวังเรื่องการได้ยิน การทรงตัวและไต