การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรวมที่สนองต่อความหลากหลายของผู้เรียน

시작하기. 무료입니다
또는 회원 가입 e메일 주소
การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรวมที่สนองต่อความหลากหลายของผู้เรียน 저자: Mind Map: การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรวมที่สนองต่อความหลากหลายของผู้เรียน

1. ความหมายของการศึกษาแบบเรียนรวม

1.1. คำจำกัดความของประเทศไทย

1.1.1. การศึกษาสำหรับทุกคนโดยรับเข้ามาเรียนรวมกันตั้งแต่เริ่มเข้ารับการศึกษา

1.1.2. จัดให้มีบริการพิเศษตามความต้องการของแต่ละบุคคล

1.2. คำจำกัดความของต่างประเทศ

1.2.1. การจัดการเรียนการสอนที่ยึดปรัชญาของการอยู่รวมกันเป็นหลัก

1.2.2. ต้องจัดการศึกษาให้กับเด็กทุกคนโดยไม่มีการแบ่งแยกว่าเด็กคนใดปกติหรือมีความต้องการพิเศษ

2. รูปแบบของการศึกษาแบบเรียนรวม

2.1. รูปแบบครูที่ปรึกษา (Consultant Model)

2.1.1. ครูปกติและครูการศึกษาพิเศษต้องมีการประชุมกันเกี่ยวกับทักษะเด็ก วางแผนร่วมกัน

2.1.2. เหมาะกับโรงเรียนขนาดเล็กที่มีเด็กที่มีความต้องการพิเศษไม่มากนัก

2.1.3. ครูการศึกษาพิเศษจะได้สอนทักษะแก่เด็กที่มีความต้องการพิเศษ

2.2. รูปแบบการร่วมทีม (Teaming Model)

2.2.1. ครูการศึกษาพิเศษจะได้ร่วมทีมกับครูสอนปกติ

2.2.2. ครูการศึกษาพิเศษมีหน้าที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษในชั้นเรียนรวม

2.3. รูปแบบการร่วมมือหรือการร่วมสอน (Collaborative/Co teaching model)

2.3.1. คนหนึ่งสอน คนหนึ่งช่วย (One teacher-One supporter)

2.3.2. การสอนพร้อมๆกัน (Parallel Teaching)

2.3.3. ศูนย์การสอน (Station Teaching) ครูแบ่งหาออกเป็นตอนๆ

2.3.4. การสอนทางเลือก (Alternative Teaching Design) ให้เด็กเลือกทำกิจกรรม

2.3.5. การสอนเป็นทีม (Team Teaching)

3. ความสำคัญ

3.1. เป็นการจัดให้เด็กที่มีความต้องการพิเศษเรียนรวมกับเด็กทั่วไป

3.2. พิจารณาคำนึงถึงคุณค่าของการพํฒนาชีวิตคน

3.3. เพื่อให้มีความสามารถ ความรู้ และทักษะในการดำรงชีวิตอยู่ในครอบครัว สังคมอย่างเป็นสุข

3.4. เป็นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้แก่กลุ่มเด็กที่มีความต้องการพิเศษให้ได้รับการศึกษาเพิ่มขึ้น

4. องค์ประกอบ

4.1. ตัวผู้เรียน

4.1.1. วุฒิภาวะ

4.1.2. ความพร้อม

4.1.3. ประสบการ์เดิม

4.1.4. แรงจูงใจ ระดับสติปัญญา อารมณ์

4.2. บทเรียน

4.2.1. ความยากง่ายของบทเรียน

4.2.2. ความยาวของบทเรียน

4.3. วิธีจัดการเรียนการสอน

4.3.1. กิจกรรมในการจัดการเรียนการสอน

4.3.2. การใช้เครื่องล่อใจ

4.3.3. การแนะแนวในการเรียน

5. ประเภทและลักษณะของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

5.1. ความบกพร่องของการมองเห็น

5.1.1. เด็กตาบอด

5.1.2. เด็กสายตาเลือนลาง ใช้แว่นขยาย

5.2. ความบกพร่องของการได้ยิน

5.2.1. เด็กที่สูญเสียการได้ยิน ในระดับหูตึงหรือหูหนวก

5.2.2. เริ่มจากหูตึงน้อย ปานกลาง จนถึงระดับรุนแรง

5.3. ความบกพร่องทางสติปัญญา

5.3.1. เด็กที่เรียนรู้ช้า I.Q. 71-90

5.3.2. เด็กปัญญาอ่อน I.Q.ต่ำกว่า70 พัฒนาการล่าช้าไม่เหมาะกับวัย

5.4. ความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ

5.4.1. เด็กที่มีอวัยวะไม่สมส่วน

5.4.2. กระดูกและกล้ามเนื้อพิการ เจ็บป่วยเรื้อรัง

5.5. ความบกพร่องทางการพูดและภาษา

5.5.1. พูดไม่ชัด จังหวะการพูดไม่ดี

5.5.2. ใช้ภาษาพูดจนไม่สามารถสื่อความหมายกับคนปกติได้

6. เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้

6.1. เด็กที่มีความบกพร่องในขบวนการทางจิตวิทยา

6.2. มีปัญหาทางด้านการใช้ภาษา การฟัง พูด อ่านและเขียน

6.3. มีปัญหาการเรียนคณิตศาสตร์

7. เด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมหรืออารมณ์

7.1. เด็กที่ไม่สามารถเรียนหนังสือได้เช่นเดียวกับเด็กปกติทั่วไป

7.2. มีสาเหตุมาจากองค์ประกอบมางสติปัญญา การรับรู้

7.3. ไม่สามารถเข้ากับเพื่อนได้ วิตกกังวลหรือหวาดกลัว

8. เด็กออทิสติก

8.1. เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าหรือถดถอย

8.2. แสดงปฏิกิริยาการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมในลักษณะแปลกๆ

8.3. มีปัญหาด้านการพูดและภาษาไม่สามารถโต้ตอบกับคน สิ่งของ เหตุการณ์ต่างๆ

9. เด็กที่มีความพิการซ้ำซ้อน

9.1. เด็กที่มีสภาพความพิการตั้งแต่ 2 อย่างขึ้นไปในตัวคนเดียว

9.2. ส่งผลให้เกิดการด้อยความสามารถในการดำรงชีวิต

9.3. เป็นอุปสรรคต่อการได้รับการศึกษา

10. เด็กที่มีปัญญาเป็นเลิศ

10.1. เด็กที่มีความสามารถทางสติปัญญา

10.2. มีความถนัดเฉพาะทางในระดับสูงมากกว่าเด็กในวัยเดียวกัน

10.3. มีระดับสติปัญญาสูงถึง 130-140

11. เทคนิคการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้แบบรวม

11.1. เด็กทุกคนมีสิทธิ์ที่จะได้เรียนรวมกัน

11.2. ทางโรงเรียนและครูต้องปรับสภาพแวดล้อม หลักสูตร เทคนิคการสอน สื่ออุปกรณ์

11.3. ประเมินผลนักเรียนเป็นรายบุคคล