ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ

시작하기. 무료입니다
또는 회원 가입 e메일 주소
ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ 저자: Mind Map: ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ

1. บทที่ 3 ทรัพยากรสารสนเทศ

1.1. ความหมาย

1.1.1. วัสดุที่ใช้บันทึกข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ตลอดจนความรู้ซึ่งได้มีการบันทึกไว้ทั้งในรูปแบบของสื่อสิงพิมพ์ สื่อโสตทัศน์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

1.2. ประเภท

1.2.1. วัสดุตีพิมพ์

1.2.1.1. วัสดุที่ใช้อักษร ข้อความ เป็นสื่อในการบันทึกหรือถ่ายทอดสารสนเทศ

1.2.1.1.1. ตัวอย่างวัสดุตีพิมพ์

1.2.2. วัสดุไม่ตีพิมพ์

1.2.2.1. วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ บันทึกสารสนเทศโดยอาศัยภาพและเสียง

1.2.2.1.1. โสตทัศนวัสดุ

1.2.2.1.2. วัสดุย่อส่วน

1.2.2.1.3. วัสดุอิเล็กทรอนิกส์

2. บทที่ 4 ความสำคัญ บทบาท คุณค่าของสารสนเทศ

2.1. พฤติกรรมสารสนเทศ

2.1.1. ทำไมบุคคลจึงต้องการสารสนเทศ

2.1.1.1. ความต้องการสารสนเทศ คือ ช่องว่างทางความรู้ / การขาดสารสนเทศ

2.1.1.2. เมื่อบุคคลตระหนักถึงภาวะดังกล่าว จึงแสวงหาสารสนเทศเพื่อ " ปิดช่องว่าง "

2.1.1.3. ผลลัพธ์ คือ ความรู้ ความเข้าใจ นำไปสู่เป้าหมายที่ปารถนา

2.2. ระดับความต้องการพื้นฐานของมนุษย์

2.2.1. ด้านร่างกาย

2.2.1.1. อาหาร

2.2.1.2. เครื่องนุ่งห่ม

2.2.1.3. ที่อยู่อาศัย

2.2.1.4. ยารักษาโรค

2.2.2. ด้านอารมณ์

2.2.2.1. อำนาจ

2.2.2.2. ความมั่นคง

2.2.2.3. ความสำเร็จ

2.2.2.4. การยอมรับ

2.2.3. ด้านปัญญา

2.2.3.1. การวางแผน

2.2.3.2. การเรียนรู้

2.2.3.2.1. ความต้องการสารสนเทศ

2.3. ระดับความต้องการสารสนเทศ

2.3.1. ที่เกิดจากสัญชาตญาณ

2.3.1.1. ไม่แน่ใจว่าสารสนเทศจะช่วยแก้ปัญหาได้

2.3.2. ที่ตระหนักได้

2.3.2.1. รู้ว่าตนเองต้องการอะไร แต่ยังไม่สามารถแสดงออกมาได้ชัดเจน

2.3.3. ที่แสดงออก

2.3.3.1. เกิดเมื่อมีข้อข้องใจ / มีวัตถุประสงค์บางประการ

2.3.4. ที่ปรับตามระบบสารสนเทศ

2.3.4.1. เชื่อมโยงความต้องการสารสนเทศเข้ากับทรัพยากรสารสนเทศแต่ละชนิดได้

2.4. วัตถุประสงค์ของความต้องการและการใช้สารสนเทศ

2.4.1. เพื่อตอบสนองความอยากรู้อยากเห็น

2.4.2. เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ

2.4.3. เพื่อศึกษาและพัฒนาทั้งในส่วนตนและสังคม

2.4.4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานหรือการบริหารงาน

2.4.5. เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตส่วนตัวและการงาน

2.5. ลักษณะสารสนเทศที่บุคคลต้องการใช้

2.5.1. เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้

2.5.2. ได้มาด้วยความสะดวก

2.5.3. มีลักษณะสอดคล้องกับค่านิยม ความเชื่อและทัศนคติของบุคคล

2.6. ปัจจัยที่มีอิทธิพล

2.6.1. ด้านอาชีพและหน้าที่การงาน

2.6.1.1. หน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละบุคคล

2.6.1.2. กระบวนการวางแผนและระดับการตัดสินในบุคคลที่เกี่ยวข้อง

2.6.1.3. สาขาวิชาที่บุคคลประกอบอาชีพและปฏิบัติงาน

2.6.2. ด้านลักษณะทางประชากร

2.6.2.1. เพศ

2.6.2.2. อายุ

2.6.2.3. รายได้

2.6.2.4. ระดับการศึกษา

2.6.2.5. สาขาวิชาที่จบการศึกษา

2.6.2.6. ศาสนา

2.6.2.7. เชื้อชาติ

2.6.3. ด้านลักษณะทางจิตวิทยา

2.6.3.1. กระบวนการเลือกรับสาร

2.6.3.2. รูปแบบการดำเนินชีวิต

2.6.4. ด้านสารสนเทศ

2.6.4.1. การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ

2.6.4.2. ค่าใช้จ่ายในการเข้าใช้สารสนเทศ

2.6.4.3. คุณภาพของสารสนเทศและประโยชน์ที่ได้รับ

2.7. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

2.7.1. การตั้งใจที่ตนมิได้ริเริ่ม

2.7.2. การค้นโดยตนมิได้เริ่ม

2.7.3. การค้นที่ต้นริเริ่ม

2.7.4. การค้นที่ดำเนินการอยู่

2.8. กระบวนการแสวงหาสารสนเทศ

2.8.1. ตระหนักและยอมรับปัญหาสารสนเทศ

2.8.2. เข้าใจและให้นิยามปัญหา

2.8.3. เลือกระบบค้นหาสารสนเทศ

2.8.4. คิดสูตรการค้น

2.8.5. การค้นหาสารสนเทศ

2.8.6. ตรวจสอบผลลัพธ์

2.8.7. กลั่นกรองสารสนเทศ

2.8.8. ย้อนกลับ / ย้ำ / หยุด

2.9. พฤติกรรมค้นหาสารสนเทศ

2.9.1. ความต้องการสารสนเทศ

2.9.1.1. แหล่งสารสนเทศที่ใช้ค้น

2.9.1.1.1. แหล่งภายใน

2.9.1.1.2. แหล่งภายนอก

2.10. อุปสรรคและปัญหาของการแสวงหาสารสนเทศ

2.10.1. ตัวผู้แสวงหาสารสนเทศ

2.10.2. วิธีการและกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ

2.11. ความสำคัญของสารสนเทศ

2.11.1. การดำรงชีวิตประจำวัน

2.11.1.1. ทุกคนล้วนแต่อาศัยสารสนเทศในการตัดสินใจ

2.11.1.2. ช่วยให้มีทักษะด้านเทคโนโลยีเพื่อสืบค้นข้อมูล

2.11.1.3. ช่วยให้รู้จักวิเคราะห์และประเมินค่าสารสนเทศ

2.11.2. สังคม

2.11.2.1. เพื่อพัฒนาประเทศโดยส่วนรวม

2.11.2.2. เพื่อความก้าวหน้าอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

2.11.2.3. มีความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม

2.12. บทบาทของสารสนเทศ

2.12.1. ด้านการค้า

2.12.1.1. กาาดำเนินการค้าขึ้นอยู่กับเผยแพร่สารสนเทศ

2.12.1.2. ทำให้ผู้ที่ต้องการสินค้าตัดสินใจได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง

2.12.1.3. หามีข้อมูลไม่เพียงพออาจทำให้เกิดความล่าช้าและเสียหาย

2.12.2. ด้านการศึกษา

2.12.2.1. เพื่อการศึกษาของคนในประเทศเป็นหลัก

2.12.2.2. เพื่อประกอบการเรียนการสอน ส่งเสริมระบบการศึกษา

2.12.2.3. สนับสนุนให้จัดตั้งห้องสมุดและศุนย์กลางให้บริการสารสนเทศ

2.12.3. ด้านการเมืองการปกครอง

2.12.3.1. ส่งเสริมระบอบการเมืองภาในประเทศ

2.12.3.2. สนับสนุนให้ประชาชนเกิดความเข้าใจในระบอบการปกครอง

2.12.3.3. ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงนโยบาย ระบบการปฏิบัติของราชการ

2.12.4. ด้านอุตสาหกรรม

2.12.4.1. ในประเทศที่กำลังพัฒนาสารสนเทศมีความสำคัญ

2.12.4.2. รัฐบาลต้องมีบทบาทในการส่งเสริมให้นักธุรกิจได้รับรู้สารสนเทศ

2.12.4.3. การถ่ายทอดเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม

2.12.5. ด้านวัฒนธรรม

2.12.5.1. เกี่ยวข้องกับสภาพสังคมและวัฒนธรรมมาตั้งแต่สมัยโบราณ

2.12.5.2. มีส่วนสำคัญในการรักษาเอกลักษณ์ของชาติ ตระหนักในศักดิ์ศรีความเป็นชาติ และส่งผลให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ

2.12.5.3. ช่วยพัฒนาจิตใจ ให้มีส่วนเกื้อกูลในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

2.13. ประโยชน์ของสารสนเทศ

2.13.1. ลดการตายจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ

2.13.2. ช่วยให้ประชากรเป็นผู้บริโภคอย่างฉลาด

2.13.3. ลดความผิดพลาดในการติดสินใจ

2.13.4. พัฒนาประสิทธิภาพการทำงาน

2.13.5. เป็นองค์ประกอบสำคัญในการพัฒนาประเทศ

2.14. คุณค่าของสารสนเทศ

2.14.1. ขึ้นอยู่กับปัจจัย

2.14.1.1. เวลา

2.14.1.2. ความถูกต้อง

2.14.1.3. ความครบถ้วน

2.14.1.4. ความต่อเนื่อง

2.14.2. คุณสมบัติในการวัดค่า

2.14.2.1. ความสามรถเข้าถึงได้

2.14.2.2. ความครบถ้วน

2.14.2.3. ความถูกต้องเที่ยงตรง

2.14.2.4. ความเหมาะสม

2.14.2.5. ความทันเวลา

2.14.2.6. ความชัดเจน

2.14.2.7. ความยืดหยุ่น

2.14.2.8. ความสามารถในการพิสูจน์ได้

2.14.2.9. ความซ้ำซ้อน

2.15. พัฒนาการของสารสนเทศ

2.15.1. คลื่นยุคที่ 1

2.15.1.1. ยุควัติทางเกษตรกรรม

2.15.2. คลื่นยุคที่ 2

2.15.2.1. ยุควัติทางอุตสาหกรรม

2.15.3. คลื่นยุคที่ 3

2.15.3.1. ยุคเทคโนโลยีระดับสูง

3. บทที่ 5 ประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

3.1. สังคมเกษตรกรรม

3.1.1. ยุคการแข่งขันกับธรรมชาติ

3.1.2. ใช้ประโยชน์จากที่ดิน ท้องทะเล ธรรมชาติ

3.1.3. อารยธรรมการเพาะปลูก

3.2. สังคมอุตสาหกรรม

3.2.1. ยุคการแข่งขันกับธรรมชาติที่มนุษย์ได้เข้าไปปรุงแต่ง

3.2.2. นำวัตถุดิบมาแปรสภาพให้เป็นผลผลิตม

3.2.3. แปรรูปเป็นสิ่งประดิษฐ์

3.3. สังคมข่าวสาร

3.3.1. ยุคการแข่งขันระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง

3.3.2. ตระหนักถึงคุณค่าข่าวสาร

3.3.3. นำมาพัฒนาการเกษตร อุตสาหกรรม กิจกรรมด้านต่างๆ

3.4. ยุคเศรษฐกิจแห่งปัญญาและการเรียนรู้

3.4.1. ความรู้ ข้อมูลสารสนเทศเป็นปัจจัยทุน

3.4.2. มุ่งใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

3.4.3. สื่อสารกันอย่างไม่มีข้อจำกัดด้านเวลาและสถานที่

3.5. กระบวนการจัดการความรู้

3.5.1. ประกอบด้วย

3.5.1.1. การแสวงหาความรู้

3.5.1.2. การสร้าง

3.5.1.3. การจัดเก็บ

3.5.1.4. การถ่ายทอด

3.5.1.5. การนำความรู้ไปใข้งาน

3.6. เทคโนโลยีการสื่อสาร

3.6.1. ช่วยให้บุคคลเข้าถึงความรู้ต่างๆได้สะดวกขึ้น

3.6.2. ค้นหาข้อมูล สารสนเทศและความรู้ได้ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

3.6.3. สามารถติดต่อสื่อสารผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ

3.7. เทคโนโลยีการทำงานร่วมกัน

3.7.1. สนับสนุนการทำงานร่วมกัน

3.7.2. สามารถประสานงานการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3.7.3. ลดอุปสรรคเรื่องของระยะทาง ระยะเวลา

3.8. สังคมเครือข่าย

3.8.1. เครื่องมือเทคโนโลยีได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว

3.8.2. มีการปรับเปลี่ยนพัฒนาตามพฤติกรรมและความต้องการของผู้บริโภค

3.8.3. ระบบสังคมโลกออนไลน์กำลังเป็นที่นิยมอย่างสูง

3.9. เทคโนโลยีการจัดเก็บ

3.9.1. นำมาจัดการความรู้ เพื่อให้จีดเก็บได้มากที่สุด

4. บทที่ 1ห้องสมุด

4.1. ความหมาย

4.1.1. สถานที่รวบรวมความรู้ ให้บริการสารสนเทศทั้งในรูปสื่อสิ่งพิมพ์ ไม่ตีพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

4.2. ความสำคัญ

4.2.1. แหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศ

4.2.2. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ได้อย่างอิสระ

4.2.3. สถานที่ให้การศึกษาต่อเนื่อง

4.3. บทบาท

4.3.1. ด้านการศึกษา

4.3.1.1. มีบทบาทตอบสนองแนวทางการจัดเรียนการศึกษา

4.3.1.2. ค้นคว้าเนื้อหาวิชาแขนงต่างๆ ตรงตามความมึ่งหมายของแต่ละบุคคลและสถาบัน

4.3.2. ด้านวัฒนธรรม

4.3.2.1. ศูนย์รวบรวมและรักษาวัฒนธรรม

4.3.2.2. เป็นเครื่องวัดความเจริญก้าวหน้า

4.3.3. ด้านเศรษฐกิจ

4.3.3.1. ช่วยสร้างงานและคนให้มีความรู้

4.3.3.2. งานบริการสื่อการศึกษาในห้องสมุดช่วยประหยัดงบประมาณส่วนบุคคล

4.3.4. ด้านการเมืองการปกครอง

4.3.4.1. ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในระบอบการปกครอง

4.3.4.2. เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม

4.4. วัตถุประสงค์

4.4.1. เพื่อพัฒนาพลเมืองให้มีความรู้ นำไปประกอบวิชาชีพ

4.4.2. เพื่อให้ติดตามข่าวสาร ความเคลื่อนไหวและเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น

4.4.3. เพื่อความก้าวหน้าทางวิชาการ

4.4.4. เพื่อเพิ่มแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน

4.4.5. เพื่อพักผ่อนสมอง ผ่อนคลายความเครียด

4.5. องค์ประกอบ

4.5.1. ผู้บริหาร

4.5.1.1. มีบทบาทสำคัญที่สุดในการสนับสนุนการดำเนินงาน

4.5.1.2. มีอำนาจพิจารณาให้การสนับสนุน

4.5.2. อาคารและสถานที่

4.5.2.1. มีสถานที่เพียงพอในการเก็บหนังสือและโสตทัศน์

4.5.2.2. อาจเป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคาร

4.5.3. ครุภัณฑ์

4.5.3.1. สิ่งจำเป็นสำหรับห้องสมุดในการที่จะเก็บหนังสือ สิ่งพิมพ์ วัสดุต่างๆ

4.5.3.2. เครื่องอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้

4.5.4. วัสดุสารนิเทศ

4.5.4.1. จำเป็นต้องมีหนังสือ สิ่งพิมพ์ต่างๆ และโสตทัศน์วัสดุ

4.5.4.2. วัสดุตีพิมพ์และวัสดึไม่ตีพิมพ์

4.5.5. บุคลากร

4.5.5.1. บรรณารักษ์

4.5.5.2. บุคลากรร่วมดำเนินงานห้องสมุด

4.5.6. เงินอุดหนุน

4.5.6.1. ปัจจัยสำคัญในการจัดหาวัสดุสารนิเทศ ครุภัณฑ์และอุปกรณ์

4.6. ประเภท

4.6.1. ห้องสมุดแห่งชาติ

4.6.1.1. แหล่งรวบรวมและเก็บรักษาสิ่งพิมพ์ภายในประเทศ

4.6.1.2. รวบรวมและรักษาวรรณกรรมของชาติ

4.6.1.3. กำหนดเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือและประจำวารสาร

4.6.2. ห้องสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย

4.6.2.1. บริการในสถาบันศึกษาระดับอุดมศึกษา

4.6.2.2. มีวัตถุประสงค์สอดคล้องกับสถาบันนั้นๆ

4.6.2.3. จัดตั้งศูนย์บริการหรือศูนย์เรียนรู้

4.6.3. ห้องสมุดโรงเรียน

4.6.3.1. ห้องสมุดโรงเรียนอนุบาล ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา

4.6.3.2. เพื่อการศึกษาค้นคว้าของนักเรียนและครูโรงเรียน

4.6.3.3. ประกอบการเรียนการสอนตามหลักสูตร

4.6.4. ห้องสมุดประชาชน

4.6.4.1. เพื่อให้บริการแก่ประชาชน

4.6.4.2. สนับสนุนการเรียนเรียนรู้ตลอดชีวิต

4.6.4.3. หอสมุดแห่งชาติก็สามารถจัดอยู่ในห้องสมุดประเภทนี้

4.6.5. ห้องสมุดเฉพาะ

4.6.5.1. ให้บริการผู้ใช้ที่เป็นสมาชิกในหน่วยงานนั้นๆ

4.6.5.2. จัดตั้งโดยหน่วยงานที่ห้องสมุดสังกัดอยู่

4.6.5.3. ห้องสมุดธนาคาร โรงพยาบาล ส่วนราชการ

4.7. ตัวอย่างการบริการ

4.7.1. บริการการอ่าน

4.7.2. บริการให้ยืม-คืน

4.7.3. บริการจัดทำดัชนี

4.7.4. บริการห้องการเรียนรู้

4.7.5. บริการสารสารสนเทศ

4.8. ตัวอย่างกิจกรรม

4.8.1. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน

4.8.2. กิจกรรมส่งเสริมความรู้เรื่องห้องสมุด

4.8.3. กิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน

4.8.4. กิจกรรมส่งเสริมความรู้ทั่วไป

4.8.5. กิจกรรมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

5. บทที่ 2 ประวัติของห้องสมุด

5.1. ในต่างประเทศ

5.1.1. สมัยโบราณ

5.1.1.1. อารยธรรมสุเมเรียน

5.1.1.1.1. ชนชาติแรกในโลกที่บันทึกเรื่องราวต่างๆ

5.1.1.1.2. บันทึกลงบนแผ่นดินเหนียว

5.1.1.1.3. ห้องสมุดที่มีชื่อเสียง ได้แก่ ห้องสมุดเมืองเทลโลว์

5.1.1.2. อารยธรรมบาบิโลเนียน

5.1.1.2.1. มีจดหมายเหตุเกิดขึ้นแล้ว

5.1.1.2.2. ห้องสมุดที่มีชื่อเสียง ได้แก่ ห้องสมุดเบอร์ซิปปา

5.1.1.2.3. ห้องสมุดเบอร์ซิปปา ถูกทำลายไปแล้ว

5.1.1.3. อารยธรรมอัสซีเรียน

5.1.1.3.1. พระเจ้าอัสสุรนิบาลสร้างห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์

5.1.1.3.2. เป็นห้องสมุดแผ่นดินเหนียวที่ใหญ่ที่สุด

5.1.1.3.3. รากฐานของห้องสมุดต่างๆทั่วโลก

5.1.1.4. อารยธรรมอียิปต์

5.1.1.4.1. ชนชาติแรกที่นำเอา "ต้นปาปิรัส" มาทำเป็นแผ่น

5.1.1.4.2. ใช้กระดาษปาปิรัสบันทึกแทนแผ่นดินเหนียว

5.1.1.4.3. อักษรภาพ "ตัวอักษรไฮโรกลิฟฟิค"

5.1.1.5. อารยธรรมกรีก

5.1.1.5.1. ยุคทองของอารยธรรม

5.1.1.5.2. การบันทึกเรื่องราวบนแผ่นหนัง "โคเดกซ์"

5.1.1.5.3. พระเจ้าปะโตเลมีที่ 1 ทรงโปรดให้สร้างห้องสมุด

5.1.1.6. อารยธรรมโรมัน

5.1.1.6.1. สร้างห้องสมุดเพื่อส่งเสริมบารมี

5.1.1.6.2. จักพรรดิ์ออกัสทรงโปรดให้สร้างห้องสมุดประชาชน

5.1.2. สมัยกลาง

5.1.2.1. เป็นยุคมืด

5.1.2.1.1. ภัยสงคราม

5.1.2.1.2. ไข้ทรพิษระบาด

5.1.2.2. วัสดุในการบันทึก

5.1.2.2.1. หนังสัตว์

5.1.2.2.2. กระดาษปาปิรัส

5.1.2.3. ห้องสมุดตามเมืองใหญ่

5.1.2.3.1. ห้องสมุดแอบเบย์ ของซังกัลป์

5.1.2.3.2. ห้องสมุดวัด กรุงโรม

5.1.3. สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

5.1.3.1. ศตวรรษที่ 15

5.1.3.1.1. รวบรวมต้นฉบับจำนวนมากไว้ที่ "นครวาติกัน"

5.1.3.2. ศตวรรษที่ 16

5.1.3.2.1. แท่นพิมพ์กูเตนเบิร์ก ทำให้ผลิตหนังสือได้มาก

5.1.3.3. ศตวรรษที่ 17

5.1.3.3.1. การศึกษาค้นคว้าวิจัยอย่างมีแบบแผน จัดต้องห้องสมุดมหาวิทยาลัย

5.1.3.4. ศตวรรษที่ 18

5.1.3.4.1. ระบบจัดหมวดหนังสือแบ่งออกเป็น 5 ประเภท

5.1.3.5. ศตวรรษที่ 19

5.1.3.5.1. จัดต้องหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ศึกษาวิชาบรรณนารักษ์

5.1.4. สมัยใหม่

5.1.4.1. ศตวรรษที่ 20

5.1.4.1.1. การเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย

5.1.4.1.2. นำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในห้องสมุด

5.1.4.1.3. มีพระราชบัญญัติ

5.1.5. ตัวอย่างห้องสมุด

5.1.5.1. ในอเมริกาเหนือ

5.1.5.1.1. Seattle Public Library

5.1.5.1.2. Beinecke Rare Book

5.1.5.2. ในยุโรป

5.1.5.2.1. Vennesla Library

5.1.5.2.2. Mafra Palace Library

5.1.5.3. ในเอเชีย

5.1.5.3.1. Tianyi Pavilion Library

5.1.5.3.2. Kikuchi City Library

5.2. ในประเทศไทย

5.2.1. สมัยสุโขทัย

5.2.1.1. พ่อขุนรามคำแหงทรงประดิษฐ์อักษรไทย

5.2.1.2. จารึกเรื่องราวต่างๆลงบนแผ่นหินหรือเสาหิน

5.2.2. สมัยกรุงศรีอยุธยา

5.2.2.1. สร้างหอหลวงเพื่อเก็บหนังสือราชการ

5.2.2.2. เมื่อ พ.ศ.2310 หอไตรและหอหลวงถูกพม่าทำลายได้รับความเสียหาย

5.2.3. สมัยกรุงธนบุรี

5.2.3.1. พระเจ้าตากสินได้โปรดให้ขอยืมพระไตรปิฎกจากเมืองนครศรีธรรมราช

5.2.3.2. สร้างหอไตรปิฎกหรือหอหลวง

5.2.4. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

5.2.4.1. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

5.2.4.1.1. โปรดเกล้าฯให้สร้างหอพระมณเฑียร

5.2.4.1.2. สร้างเพื่อเก็บพระไตรปิฎกหลวง

5.2.4.2. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

5.2.4.2.1. โปรดให้ปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ

5.2.4.2.2. รูปปั้นฤษีดัดตน ตำรับการนวดและตำรายาไทย

5.2.4.3. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

5.2.4.3.1. หอสมุดวชิรญาณ

5.2.4.4. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

5.2.4.4.1. หอสมุดแห่งชาติ

5.2.4.5. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

5.2.4.5.1. หอจดหมายเหตุ