เกณฑ์การสำรวจลักษณะทางพันธุกรรมของนักเรียนห้องม.6/1

시작하기. 무료입니다
또는 회원 가입 e메일 주소
เกณฑ์การสำรวจลักษณะทางพันธุกรรมของนักเรียนห้องม.6/1 저자: Mind Map: เกณฑ์การสำรวจลักษณะทางพันธุกรรมของนักเรียนห้องม.6/1

1. กระดกนิ้วโป้ง

1.1. เกิดจากพันธุกรรมทางครอบครัว ซึ่งบางครอบครัวกระดกได้ บางครอบครัวกระดกไม่ได้ แต่ส่วนมากทุกคนจะกระดกได้การสำรวจห้องม.6/1

1.2. นักเรียนห้องม.6/1

1.2.1. กระดกได้19คนจาก19คน

1.2.1.1. คิดเป็น100%

1.2.2. จาก19คนนี้ไม่มีใครกระดกไม่ได้

2. ขนหลังมือ

2.1. เกิดจากพันธุกรรมทางครอบครัว ซึ่งบางครอบครัวมี บางครอบครัวไม่มี ขึ้นอยู่ที่ครอบครัวเรา แต่ส่วนใหญ่ทุกคนจะมีขนหลังมือจากการสำรวจห้องม.6/1

2.2. นักเรียนห้องม.6/1

2.2.1. มีขนหลังมือ20คนจาก20คน

2.2.1.1. คิดเป็น100%

2.2.2. จาก20คนนี้ไม่มีใครไม่มีขนหลังมือ

3. สีผิว

3.1. เกิดจากพันธุกรรมทางครอบครัว ซึ่งบางครอบครัวพ่อขาว แม่ดำ ลูกอาจจะเกิดมาขาวหรือดำขึ้นอยู่ที่เราจะได้จากใคร ถ้าได้จากพ่อก็ขาว ถ้าได้จากแม่ก็ดำ

3.2. นักเรียนห้องม.6/1

3.2.1. ดำ18คนจาก22คน

3.2.1.1. คิดเป็น81.81%

3.2.2. ขาว4จาก22คน

3.2.2.1. คิดเป็น18.18%

4. น้ำหนัก

4.1. นักเรียนห้องม.6/1

4.1.1. เกณฑ์น้ำหนัก

4.1.1.1. 41-50 กก.

4.1.1.1.1. มี6คนจากนักเรียน25คน

4.1.1.2. 51-60 กก.

4.1.1.2.1. มี9คนจากนักเรียน25คน

4.1.1.3. 61-70 กก.

4.1.1.3.1. มี7คนจากนักเรียน25คน

4.1.1.4. 71-80 กก.

4.1.1.4.1. มี1คนจากนักเรียน25คน

4.1.1.5. 81-90 กก.

4.1.1.5.1. มี2คนจากนักเรียน25คน

4.2. เกิดจากพันธุกรรมทางครอบครอบ บางครอบครัวพ่ออ้วนแม่ผอม ลูกอาจจะเกิดมาอ้วนหรือผอมขึ้นอยู่ว่าจะได้รับยีนมาจากใคร ถ้าได้จากพ่อก็อ้วน หรือ ถ้าได้จาก(แต่ก็ขึ้นอยู่ว่าถ้าเราอ้วนเราสามารถลดน้ำหนักด้ หรือ ถ้าเราผอมเราก็สามารถอ้วนได้เหมือนกันถ้าทานอาหารเยอะเกิดไป)

5. กฎของเมนเดล

5.1. เมนเดล (Gregor Johann Mendel) บาทหลวงชาวออสเตรเลีย ผู้ได้ชื่อว่าเป็น "บิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์" ได้ศึกษาเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และได้ตั้งกฎไว้ 2 ข้อ

5.1.1. กฎแห่การแยกตัว (Law of segregation)

5.1.1.1. กล่าวไว้ว่า ยีนในสิ่งมีชีวิตจะอยู่เป็นคู่ เมื่อมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ยีนเหล่านี้จะแยกออกจากกันอย่างอิสระไปสู่เซลล์สืบพันธ์แต่ละเซลล์

5.1.2. กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ (Law of independent assortment)

5.1.2.1. กล่าวไว้ว่า ยีนที่อยู่ในเซลล์สืบพันธุ์จะมารวมกันอย่างอิสระเมื่อมีการปฏิสนธิ ทำให้ยีนดังกล่าวถูกถ่ายทอดไปยังรุ่นถัดไปได้ ซึ่งการถ่ายทอดลักษณะดังกล่าวจะถูกถ่ายทอดไปยังโครโมโซมร่างกายหรือโครโมโซม เพศ

5.2. เมนเดลได้ผสมพันธุ์ถั่วลันเตาเพื่อศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม ลักษณะภายนอกของต้นถั่วลันเตาที่เมนเดลศึกษามีหลายลักษณะ แต่เมนเดลได้เลือกศึกษาเพียง 7 ลักษณะโดยแต่ละลักษณะนั้นมีความแตกต่างกัน เช่น ต้นเตี้ยกับต้นสูง ลักษณะเมล็ดเรียบและขรุขระ เป็นต้น ต้นถั่วที่เมนเดลนำมาเป็นพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์นั้น เป็นพันธุ์แท้ทั้งคู่ สายพันธุ์แท้นี้ ได้จากการนำต้นถั่วแต่ละสายพันธุ์มาปลูกและผสมพันธุ์ภายในดอกเดียวกัน เมื่อต้นถั่วออกฝัก นำเมล็ดแก่ไปปลูกจากนั้นรอกระทั่งต้นถั่วเจริญเติบโต จึงคัดต้นที่มีลักษณะเหมือนพ่อแม่ นำมาผสมพันธุ์ต่อไปอีกหลายๆ รุ่น

5.2.1. จากการทดลองเมนเดลสรุปได้ว่า

5.2.1.1. ลักษณะด้อยจะไม่ปรากฏให้เห็นในลูกรุ่นที่ 1 แต่มาปรากฏในรุ่นที่ 2 และเมื่อนับจำนวนลูกในรุ่นที่ 2 พบว่า มีอัตราส่วนระหว่างลักษณะเด่นกับลักษณะด้อยประมาณ 3 ต่อ 1 เมนเดลอธิบายผลการทดลองที่ปรากฏขึ้นว่า "สิ่งมีชีวิต มีหน่วยควบคุมลักษณะแต่ละลักษณะที่สามารถถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปยังรุ่นต่อไปได้ หน่วยควบคุมลักษณะนี้อยู่เป็นคู่ๆ เมื่อสิ่งมีชีวิตสร้างเซลล์สืบพันธุ์ หน่วยดังกล่าวจะแยกออกจากกัน โดยไปอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์ และจะมาเข้าคู่กันอีกครั้งภายหลังการรวมกันระหว่างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ และเพศเมีย หน่วยควบคุมลักษณะที่เมนเดลกล่าวถึงนี้ ต่อมาเรียกอีกว่า ยีน ซึ่งมีทั้งยีนที่ควบคุมลักษณะเด่น และยีนที่ควบคุมลักษณะด้อย"

6. ติ่งหู

6.1. เกิดจากพันธุกรรมทางครอบครัว ซึ่งบางครอบครัวมี บางครอบครัวไม่มี

6.2. นักเรียนห้องม.6/1

6.2.1. มีติ่งหู14คนจาก19คน

6.2.1.1. คิดเป็น73.6%

6.2.2. ไม่มีติ่งหู5คนจาก19คน

6.2.2.1. คิดเป็น26.3%

7. ห่อลิ้น

7.1. เกิดจากพันธุกรรมทางครอบครัว ซึ่งบางครอบครัวทำได้ บางครอบครัวทำไม่ได้

7.2. นักเรียนห้องม.6/1

7.2.1. ห่อลิ้นได้13คนจาก21คน

7.2.1.1. คิดเป็น66.6%

7.2.2. ห่อลิ้นไม่ได้13คนจาก21คน

7.2.2.1. คิดเป็น38%

8. ส่วนสูง

8.1. นักเรียนห้องม.6/1

8.1.1. เกณฑ์ส่วนสูง

8.1.1.1. 151-160 ซม.

8.1.1.1.1. มี15คนจากนักเรียน29คน

8.1.1.2. 161-170 ซม.

8.1.1.2.1. มี7คนจากนักเรียน29คน

8.1.1.3. 171-180 ซม.

8.1.1.3.1. มี7คนจากนักเรียน29คน

8.2. เกิดจากพันธุกรรมทางครอบครัว บางครอบครัวพ่อสูง แม่เตี้ย ลูกอาจจะเกิดมาสูงหรือเตี้ยขึ้นอยู่ว่าจะได้รับมาจากใคร ถ้าได้พ่อก็สูง ถ้าได้แม่ก็เตี้ย

9. การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

9.1. พันธุกรรม (Genetics)

9.1.1. การถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตจากรุ่นหนึ่งไปสู่รุ่นหนึ่ง โดยลักษณะต่างๆ ทั้งพันธุกรรมนี้จะถ่ายทอดผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์ของพ่อและแม่ ซึ่งสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีลักษณะทางพันธุกรรมแตกต่างกัน ทำให้มีลักษณะแตกต่างกันไป สำหรับสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน พบว่า มีความแปรผันทางพันธุกรรมทำให้ลูกที่เกิดขึ้นมีลักษณะที่แตกต่างกัน โดยความแปรผันนี้มีได้ 2 ลักษณะคือ ความแปรผันแบบไม่ต่อเนื่อง และความแปรผันแบบต่อเนื่อง

9.2. หน่วยพันธุกรรม หรือยีน (gene)

9.2.1. หน่วยควบคุมลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต เช่น สีผม สีตา สีผิว ความสูง สติปัญญา ลักษณะเส้นผม เป็นต้น ส่วนลักษณะที่ไม่ใช่ลักษณะทางพันธุกรรม เช่น เพศ เสียง ลักษณะอ้วน ผอม เป็นต้น ส่วนยีนที่ผิดปกติ เช่น โรคเลือดผิดปกติชนิดธาลัสซีเมีย โรคปัญญาอ่อนบางชนิด เป็นต้น ในความผิดปกติมียีนลักษณะเช่นนี้แฝงอยู่ ซึ่งยีนที่ผิดปกตินี้ส่วนมากเป็นยีนด้อยและอาจแสดงลักษณะด้อยปรากฏให้เห็นใน รุ่นลูกหลานได้

10. ลักษณะพันธุ์แท้ และพันธุ์ทาง

10.1. ลักษณะพันธุ์แท้

10.1.1. นักพันธุศาสตร์ใช้อักษรหรือสัญลักษณ์แทนยีนแต่ละยีน โดยใช้อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่แทนยีนที่ควบคุมลักษณะเด่น อักษรตัวพิมพ์เล็ก แทนยีนที่ควบคุมลักษณะด้อย เช่น A แทนยีนที่กำหนดลักษณะต้นสูง ซึ่งเป็นลักษณะเด่น และอักษร a แทนยีนที่ควบคุมลักษณะต้นเตี้ย ซึ่งเป็นลักษณะด้อย

10.2. ลักษณะพันธุ์ทาง

10.2.1. ลักษณะที่ปรากฎ (ฟีโนไทป์) ให้เห็นเป็นลักษณะเด่น แต่มีลักษณะด้อยแฝงอยู่ แอลลีลของยีนที่เข้าคู่กันจะมีลักษณะที่แตกต่างกัน เช่น ลักษณะสูงไม่แท้ที่เรียกว่า พันทาง จะมีรูปแบบของยีน (จีโนไทป์)