สรุปทฤฎีพัฒนาการ

시작하기. 무료입니다
또는 회원 가입 e메일 주소
สรุปทฤฎีพัฒนาการ 저자: Mind Map: สรุปทฤฎีพัฒนาการ

1. ทฤษฎีพัฒนาการทางสังคมของอีริคสัน

1.1. ขั้นที่ 1 ไว้วางใจ / ไม่ไว้วางใจ ( แรกเกิด - 1 ปี )

1.1.1. เหตุ : การเลี้ยงดูที่อบอุ่น ได้รับการเอาใจใส่ ผล : เกิดความไว้วางใจ เชื่อถือผู้อื่น

1.1.2. เหตุ : ไม่ได้รับการเลี้ยงดูเอาใจใส่เท่าที่ควร ผล : มองโลกในแง่ร้าย หลีกหนีสังคม ไม่ไว้ใจผู้อื่น

1.1.3. บุคคลที่มีอิทธิพล : พ่อ แม่ คนใกล้ชิด

1.2. ขั้นที่ 2 เป็นตัวเอง / ไม่เป็นตัวเอง ( 2 - 3 ปี )

1.2.1. เหตุ : ได้รับอิสระ ฝึกทำกิจกรรมด้วยตนเอง ผล : เชื่อมั่นในตนเอง

1.2.2. เหตุ : ได้รับการเลี้ยงดูเข้มงวดเกินไป ถูกบังคับ ผล : ไม่มั่นใจในตนเอง เกิดความกลัว ลังเล

1.2.3. บุคคลที่มีอิทธิพล : พ่อ แม่ คนใกล้ชิด

1.3. ขั้นที่ 3 ความคิดริเริ่ม / ความรู้สึกผิด ( 3 - 5 ปี )

1.3.1. เหตุ : ได้รับการส่งเสริม เรียนรู้ด้วยตนเอง ผล : กล้าแสดงออก มีความคิดสร้างสรรค์

1.3.2. เหตุ : ถูกตำหนิ ดุด่า ไม่ได้รับการยอมรับ ผล : เกิดความรู้สึกผิด กลัว ไม่กล้าลงมือ ทำอะไรด้วย ตนเองขาดความคิดสร้างสรรค์

1.3.3. บุคคลที่มีอิทธิพล : ครอบครัว เพื่อน

1.4. ขั้นที่ 4 ขยันหมั่นเพียร / มีปมด้วย ( 6 - 11 ปี )

1.4.1. เหตุ : ได้รับการยอมรับและชื่นชมในผลงาน ผล : เกิดความเชื่อมั่นและเห็นคุณค่าของตน

1.4.2. เหตุ : ไม่ได้รับการยอมรับ ถูกบังคับให้ทำสิ่งต่างๆ ผล : รู้สึกไม่มีคุณค่าในตนเอง

1.4.3. บุคคลที่มีอิทธิพล : พ่อ แม่ ครู เพื่อน

1.5. ขั้นที่ 5 รู้จักตนเอง / ไม่รู้จักตนเอง ( 12 - 18 ปี )

1.5.1. เหตุ : หากประสบความสำเร็จ ผล : รู้จักเข้าใจในตนเอง

1.5.2. เหตุ : หากไม่ประสบความสำเร็จ ผล : ไม่รู้จักและสับสนในตนเอง

1.5.3. บุคคลที่มีอิทธิพล : บุคคลใกล้ชิดและสภาพสังคม

1.6. ขั้นที่ 6 คุ้นเคย / อ้างว้าง ( วัยผู้ใหญ่ตอนต้น )

1.6.1. เหตุ : พัฒนาการในขั้นที่ผ่านมาประสบผลสำเร็จในแง่ดี ผล : มั่นคงในตนเอง นับถือผู้อื่น

1.6.2. เหตุ : พัฒนาการในขั้นต่างๆ ที่ผ่านมาไม่ประสบความสำเร็จ ผล : รู้สึกอ้างว้าง ว้าเหว่ อยู่คนเดียว

1.6.3. บุคคลที่มีอิทธิพล : บุคคลในสังคม

1.7. ขั้นที่ 7 ความเป็นพ่อแม่ / ความหยุดนิ่ง ( วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง )

1.7.1. เหตุ : พัฒนาการในขั้นที่ผ่านมาประสบผลสำเร็จในแง่ดี ผล : รู้จักรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง สามารถ สร้างครอบครัวที่อบอุ่น ประสบความสำเร็จในชีวิต

1.7.2. เหตุ : พัฒนาการในขั้นต่างๆ ที่ผ่านมาไม่ประสบความสำเร็จ ผล : รู้สึกไม่มีความสามารถ เกิดปมด้อย

1.7.3. บุคคลที่มีอิทธิพล : บุคคลในสังคม

1.8. ขั้นที่ 8 มั่นคงทางใจ / ท้อแท้สิ้นหวัง ( วัยชรา )

1.8.1. เหตุ : การยอมรับและเข้าใจชีวิตของตนเองที่ผ่านมาได้ ผล : ยอมรับความจริงของชีวิตและสามารถมอบความ รักให้กับบุคคลอื่นๆได้

1.8.2. เหตุ : พัฒนาการในขั้นต่างๆ ที่ผ่านมาไม่ประสบผลสำเร็จและไม่สามารถยอมรับในตนเองได้ ผล : ท้อแท้ สิ้นหวัง รู้สึกไร้ค่า กลัวความตาย

1.8.3. บุคคลที่มีอิทธิพล : ครอบครัลหรือบุคคลใกล้ชิด

2. ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม Abraham Maslow & Carl Rogers

2.1. ทฤษฎีตัวตน Cart Rogers

2.1.1. ตัวตนที่ตนเองมองเห็น

2.1.2. ตัวตนตามความเป็นจริง

2.1.3. ตัวตนในอุดมติ

2.2. ทฤษฎีลำดับขั้นของแรงจูงใจ Abramaslow Maslow

2.2.1. ความต้องการตระหนักในคุณค่าของตนเองการค้นพบตนเอง

2.2.2. ความต้องการความสวยงาม ความเป็นระเบียบ

2.2.3. ความต้องการความรู้ ข้อมูลข่าวสาร

2.2.4. ความต้องการมีชื่อเสียง ได้รับการยอมรับ

2.2.5. ความต้องการความรักและการเป็นเจ้าของ

2.2.6. ความต้องการความปลอดภัย ความมั่นคงในชีวิต

2.2.7. ความต้องการทางร่างกาย ความสมดุลของร่างกาย

3. ทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญา Jean Piaget

3.1. พัฒนาการสติปัญญาผ่านการสัมผัสรับรู้สิ่งต่างๆด้วยตนเอง

3.2. เริ่มเข้าใจสิ่งต่างๆ ในลักษณะรูปธรรมเตรียมพร้อมที่จะเข้าใจมุมมองความคิดของผู้อื่น

3.3. รับรู้ข้อมูลและเข้าใจสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริงรู้ที่มาที่ไปหรือเหตุและผลของเรื่องต่างๆ

3.4. สามารถเข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรมที่ไม่สามารถมองเห็นหรือสัมผัสได้

4. ทฤษฎีบุคลิกภาพ (Alfred Adler)

4.1. โครงสร้างบุคลิกภาพ

4.1.1. ปมเด่น / ปมด้อย

4.1.1.1. มนุษย์ทุกคนมีปมด้อย และ ความปรารถนามีปมเด่น เป็นแรงจูงใจที่ มีผลต่อพฤติกรรมและลักษณะของ บุคลิกของแต่ละคน

4.1.2. ประสบการณ์ในวัยเด็ก

4.1.2.1. Spoiled Child = เด็กขาดโอกาสในการพยายามทำสิ่งต่างๆจึงเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ที่เอาแต่ใจตนเอง

4.1.2.2. Neglected Child = ได้รับการเลี้ยงดูใน รูปแบบที่ไม่เหมาะสม ส่งผลให้เด็กรู้สึก ว่าโลกไม่น่าอยู่

4.1.2.3. Warm Child = ได้รับโอกาสในการดูแลตนเองและไม่ตามใจจนเกินไปจึงเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มี ความมั่นใจนับถือตนเอง

4.1.2.4. Child with Inferiority = มีปมด้อยบางประการ หากได้รับการสนับสนุนที่ดีจะช่วยให้เอาชนะปมด้อย โดยการแสวงหาปมเด่น

4.1.3. ลำดับการเกิด

4.1.3.1. ลูกคนโต

4.1.3.2. ลูกคนกลาง

4.1.3.3. ลูกคนเล็ก

4.1.3.4. ลูกคนเดียว

5. ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของเพียเจต์

5.1. ขั้นที่ 1 การใช้ประสาทสัมผัส ( แรกเกิด - 2 ปี)

5.1.1. เด็กจะเริ่มเรียนรู้การปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม

5.2. ขั้นที่ 2 เตรียมความคิดที่มีเหตุผล ( 2 - 7 ปี)

5.2.1. พัฒนาการทางภาษาดีขึ้น แต่ยังไม่สามารถ ใช้ สติปัญญาได้อย่างเต็มที่

5.3. ขั้นที่ 3 คิดอย่างมีเหตุผลและเป็นรูปธรรม ( 7 - 11 ปี)

5.3.1. เริ่มใช้เหตุผลในการตัดสินใจได้ แต่ยัง ไม่เต็มประสิทธิภาพสามารถเรียงลำดับ เปรียบเทียบ คิดย้อนกลับไปกลับมาได้

5.4. ขั้นที่ 4 คิดอย่างมีเหตุผลและเป็นนามธรรม ( 12 ปีขึ้นไป)

5.4.1. รู้จักใช้เหตุผลอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ยึดตัว เองเป็นศูนย์กลางเข้าใจ สิ่งที่เป็นนามธรรม

6. ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคห์ลเบิร์ก

6.1. ระดับที่ 1 ก่อนเกณฑ์ทางสังคม

6.1.1. 1. ลงโทษและเชื่อฟัง ( 0 - 7 ปี )

6.1.2. 2. แสวงหารางวัล ( 7 - 10 ปี )

6.2. ระดับที่ 2 ตามเกณฑ์ทางสังคม

6.2.1. 3. ทำตามความคิดเห็นของสังคม ( 10 - 13 ปี )

6.2.2. 4. ทำตามกฎของสังคม ( 13 - 16 ปี )

6.3. ระดับที่ 3 เหนือเกณฑ์ทางสังคม

6.3.1. 5. ทำตามสัญญา (16 ปีขึ้นไป )

6.3.2. 6. ขั้นอุดมคติสากล ( วัยผู้ใหญ่ขึ้นไป )

7. ทฤษฎีพัฒนาการความต้องการทางเพศของฟรอยด์

7.1. พัฒนาการของบุคลิกภาพ (Psychosexual development)

7.1.1. 1. ขั้นปาก (แรกเกิด - 1 ปี )

7.1.1.1. พึงพอใจในการใช้ปาก ดูด กัด อม ทำเสียงต่างๆ ภาวะติดขัด : พูดมาก ชอบนินทา ติดบุหรี่ กัดเล็บ ทานของจุบจิบ

7.1.2. 2. ขั้นทวารหนัก ( 1 - 2 ปี )

7.1.2.1. พึงพอใจในการขับถ่าย ควบคุมการขับถ่ายภาวะติดขัด ภาวะติดขัด: ชอบสะสม ตระหนี่ หวงของ ย้ำคิดย้ำทำ ต่อต้านกฎเกณฑ์ เจ้าระเบียบ

7.1.3. 3. ขั้นอวัยวะเพศ ( 3 - 5 ปี )

7.1.3.1. พึงพอใจ ชอบเล่น ซักถามเกี่ยวกับอวัยวะเพศ

7.1.3.2. ภาวะติดขัด : เกิดพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศเมื่อโตขึ้น

7.1.3.3. - เกิด "ปม" (Complex) ในจิตใจจากความรู้สึกผูกพันธ์กับพ่อหรือแม่ที่เป็นเพศตรงข้ามกับตนเอง ทำให้เกิดพฤติกรรมเลียนแบบเลียนแบบพ่อหรือแม่ที่เป็นเพศเดียวกับตนเองเพื่อให้ได้รับความรักจากเพศตรงข้าม

7.1.3.4. - เด็กผู้ชายเกิด (ปมออดิปุส) ส่วนเด็กผู้หญิงเกิด (ปมอิเล็กตรา)

7.1.4. 4. ขั้นพัก หรือ สงบ ( 6 - 12 ปี )

7.1.4.1. ได้รับอิทธิพลจากพัฒนาการทางสังคมและสติปัญญาแทนความต้องการทางเพศ ทำให้เด็กสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัวหรือเรื่องอื่นๆ เช่น การเล่นกีฬาการอยู่รวมกลุ่มกับเพื่อน เพศเดียวกัน

7.1.5. 5. ขั้นสนใจเพศตรงข้าม ( 12 ปีขึ้นไป )

7.1.5.1. เกิดจากความต้องการในบริเวณอวัยวะเพศ

7.2. ระดับของจิตใจ ( level of mind)

7.2.1. 1. จิตสำนึก (Conscious) เป็นส่วนของจิตใจ ที่บุคคลรู้สึกตัว และตระหนักในตนเอง พฤติกรรมที่แสดงออก อยู่ภายใต้ การควบคุมของสติปัญญา

7.2.2. 2. จิตใต้สำนึก ( Subconscious) เป็นระดับของจิตใจ ที่อยู่ในชั้นลึกลงไปกว่าจิตสำนึกบุคคลไม่ได้ ตระหนักอยู่ ตลอดเวลาหากแต่ต้องใช้เวลาคิด จิตใจส่วนนี้จะช่วยขจัดข้อมูลที่ไม่จำเป็น

7.2.3. 3. จิตไร้สำนึก (Unconscious) เป็นระดับของจิตใจที่อยู่ ลึกไม่สามารถจะนึกได้มักจะเก็บ ประสบการณ์ที่ไม่ดีและเลวร้ายไว้ในจิตไร้สำนึกโดยไม่รู้ตัว

7.2.4. ID = ความอยาก หรือ ความปรารถนา

7.2.5. ECO = การบริหารจัดการการประสานงานระหว่างแรงขับภายใน

7.2.6. SUPEREGO = การสังเกตและตรวจสอบพฤติกรรม อารมณ์ และความคิด มโนธรรม