시작하기. 무료입니다
또는 회원 가입 e메일 주소
กฎหมายครอบครัว 저자: Mind Map: กฎหมายครอบครัว

1. สินส่วนตัวและสินสมรส

1.1. ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา ๑๔๗๑

1.1.1. ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีอยู่ก่อนสมรส

1.1.2. ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยการรับมรดก

1.1.3. ทรัพย์สินที่เป็นของหมั้น

1.1.4. ทรัพย์สินที่เป็นเครื่องใช้สอยส่วนตัว เครื่องแต่งกาย

1.2. กฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา ๑๔๗๔

1.2.1. ทรัพย์สินที่คู่สมรสได้มาระหว่างสมรส

1.2.2. ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยพินัยกรรม

1.2.3. ทรัพย์สินที่เป็นดอกผลของสินส่วนตัว

2. การจัดการสินสมรสร่วมกัน

2.1. เป็นวิธีการที่กฎหมายกำหนดให้คู่สมรสต้องจัดการสินสมรสอันเป็นทรัพย์สินที่คู่สมรสต่างร่วมมือร่วมใจกันจัดการ

3. การชําระหนี้ต่อบุคคลภายนอก

3.1. 1.ถ้าสามีหรือภริยาต้องรับผิดเป็นส่วนตัวเพื่อชำระหนี้ที่ก่อไว้ก่อนหรือระหว่างสมรส 2.ถ้าสามีภริยาเป็นลูกหนี้ร่วมกัน

4. ของหมั้นและสินสอด

4.1. 1.การหมั้นต้องมีการส่งมอบของหมั้นแก่หญิงคู่หมั้น 2.ของหมั้น ได้แก่ทรัพย์สินที่ฝ่ายชายให้แก่หญิงคู่หมั้น สินสอด

5. การกู้ยืมเงิน

5.1. เนื้อความในเอกสารหลักฐานการกู้ยืมเงิน

5.1.1. 1. วันที่ที่ทำสัญญากู้เงิน

5.1.1.1. 2. ชื่อผู้ขอกู้เงินและผู้ให้กู้เงิน

5.1.2. 3. จำนวนเงินที่กู้

5.1.2.1. 4. กำหนดชำระ (จะมีหรือไม่มีก็ได้)

5.1.3. 5. ดอกเบี้ย (ไม่เกิน 15% ต่อปี)

5.1.3.1. 6. ผู้กู้ยืมต้องลงลายมือชื่อ

6. การจำนำ

6.1. บุคคลหนึ่งเรียกว่า “ผู้จำนำ” มอบสังหาริมทรัพย์ให้กับอีกบุคคลหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับจำนำ” เพื่อประกันการชำระหนี้ด้วยสังหาริมทรัพย์

7. การจำนอง

7.1. มีลักษณะคล้ายการจำนำเป็นการมอบสินทรัพย์เพื่อประกันการชำระหนี้ เพียงแต่สิ่งที่ใช้เป็นหลักประกันคืออสังหาริมทรัพย์

8. การหมั้น

8.1. ความหมายคือ สัญญาว่าจะสมรสในอนาคต

8.1.1. เงื่อนไขในเรื่องอายุ (ม. ๑๔๓๕)

8.1.1.1. เงื่อนไขในเรื่องความยินยอม (ม. ๑๔๓๖)

8.1.1.1.1. เงื่อนไขในเรื่องของหมั้น (ม. ๑๔๓๗)

8.2. ผลของการหมั้น

8.2.1. การหมั้นที่สมบูรณ์ย่อมนำไปสู่การสมรส แต่ในกรณีที่การสมรสไม่เกิดขึ้นไม่ว่าจะด้วยสาเหตุอะไรจะบังคับให้มีการสมรสไม่ได้

8.3. ค่าทดแทน

8.3.1. ค่าทดแทนในการผิดสัญญาหมั้น (ม.๑๔๔๐)

8.3.1.1. ค่าทดแทนในกรณีเสมือนผิดสัญญาหมั้น

8.4. ความระงับสิ้นแห่งสัญญาหมั้น

8.4.1. 1.ความตายของคู่หมั้น

8.4.1.1. 2.การเลิกสัญญาหมั้นโดยสมัครใจ

8.4.1.1.1. 3.บอกเลิกสัญญาหมั้นโดยอ้างเหตุตามกฎหมาย

8.5. การเรียกค่าทดแทน ของหมั้นและสินสอดและอายุความ

8.5.1. กรณีคู่หมั้นตาย

8.5.1.1. กรณีผิดสัญญา หรือเสมือนว่าผิดสัญญาหมั้น

8.5.2. กรณีบอกเลิกสัญญาหมั้นโดยสมัครใจ

8.5.2.1. กรณีบอกเลิกสัญญาหมั้นโดยกฎหมาย

9. การสมรสหรือแต่งงาน

9.1. ความหมายคือ การที่ชายและหญิงสมัครใจเข้ามาอยู่กินกันฉันสามีภริยาชั่วชีวิต

9.2. หลักเกณฑ์การสมรส

9.2.1. คู่สมรสฝ่ายหนึ่งจะต้องเป็นชายและอีกฝ่ายจะต้องเป็นหญิง

9.2.2. การสมรสจะต้องเป็นการกระทำโดยสมัครใจของชายและหญิง

9.2.3. การอยู่กินกันฉันสามีภริยาจะต้องเป็นระยะเวลาชั่วชีวิต

9.2.4. การสมรสจะต้องมีคู่สมรสเพียงคนเดียวเท่านั้น

10. การรับบุตรบุญธรรม

10.1. คุณสมบัติ

10.1.1. 1. ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปี และต้องมีอายุแก่กว่าผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรมอย่างน้อย15 ปี

10.1.2. 2. ผู้เป็นบุตรบุญธรรมที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปี ต้องให้ความยินยอมด้วย

10.1.3. 3. กรณี ผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรมเป็นผู้เยาว์ จะต้องได้รับความยินยอม

10.1.4. 4. ผู้จะรับบุตรบุญธรรม หรือผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรม ถ้ามีคู่สมรสต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรสก่อน

10.1.5. 5. ผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลใดอยู่จะเป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลอื่นอีกในขณะเดียวกันไม่ได้

10.2. ขั้นตอนการปฏิบัติการจดทะเบียน

10.2.1. 1.กรณีผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรมบรรลุนิติภาวะ

10.2.1.1. 2.กรณีผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรมเป็นผู้เยาว์

10.3. ประโยชน์

10.3.1. ผู้เป็นบุตรบุญธรรม

10.3.1.1. ผู้รับบุตรบุญธรรม

10.3.1.1.1. บิดามารดาโดยกำเนิด

10.4. หลักฐานที่ต้องนำไปแสดง

10.4.1. บัตรประจำตัวประชาชนของบิดา มารดา

10.4.1.1. หนังสืออนุมัติจากคณะกรรมการการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม

10.4.2. สูติบัตรของบุตร

10.4.2.1. สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านของบิดา มารดา และ บุตร

11. ทรัพย์และทรัพย์สิน

11.1. ลักษณะสำคัญ

11.1.1. เป็นวัตถุมีรูปร่าง

11.1.1.1. ต้องมีราคาและถือเอาได้