วิเคราะห์เชิงวิพากษ์ ปรัชญาการศึกษา ทฤษฎีการศึกษา จากเรื่อง "เสียงกู่ของครูใหญ่"

시작하기. 무료입니다
또는 회원 가입 e메일 주소
วิเคราะห์เชิงวิพากษ์ ปรัชญาการศึกษา ทฤษฎีการศึกษา จากเรื่อง "เสียงกู่ของครูใหญ่" 저자: Mind Map: วิเคราะห์เชิงวิพากษ์ ปรัชญาการศึกษา ทฤษฎีการศึกษา จากเรื่อง "เสียงกู่ของครูใหญ่"

1. ปรัชญาการศึกษา ทฤษฎีการศึกษาที่สอดคล้อง

1.1. ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม (Progessivism)

1.1.1. ครูใหญ่ไม่หยุดที่จะพัฒนา ลงมือทำ พัฒนาคน และพัฒนาหมู่บ้าน อีกทั้งการลงมือทำของครูใหญ่ ทำให้เด็กๆและคนในหมู่บ้านได้เห็น และเรียนรู้ด้วยตนเอง

1.2. ปรัชญาปฎิรูปนิยม (Reconstruction)

1.2.1. ครูใหญ่เห็นถึงปัญหาของชุมชน และหาแนวทางแก้ไข พัฒนา ชุมชนและสร้างสังคมใหม่จากหมู่บ้านที่ไม่ค่อยพึ่งพาอาศัยกัน กลายเป็นหมู่บ้านที่ช่วยเหลือกันและมีส่วนร่วมใน การพัฒนาหมู่บ้าน

1.3. ทฤษฎีประสบการณ์นิยม (Experientialism)

1.3.1. เด็กนักเรียนเกิดการเรียนรู้จากการลงมือทำด้วยตนเอง เลี้ยงไก่ เลี้ยงวัว เลี้ยงผึ้ง และการสร้างโรงเรียนด้วยตัวเอง

2. การพัฒนาที่ยั่งยืน

2.1. สังคม

2.1.1. ครูใหญ่สร้างสังคมใหม่ขึ้นในหมู่บ้าน เปลี่ยนชาวบ้านให้กลายเป็นคนที่ช่วยเหลือ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน

2.2. วัฒนธรรม

2.2.1. ครูใหญ่สร้างความเชื่อให้กับคนในหมู่บ้าน โดยสร้างคำขวัญประจำหมู่บ้าน คือ การทำงานหนักเป็นดอกไม้ของชีวิต สร้างวัฒนธรรมที่ให้พึ่งพาตนเอง และช่วยเหลือกัน

2.3. เศรษฐกิจ

2.3.1. ครูใหญ่ช่วยสร้างอาชีพให้คนในชุมชน ทั้งการเลี้ยงไก่ เลี้ยงผึ้ง และเลี้ยงวัว ทำให้ชาวบ้านมีรายได้และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

3. ฐานคิดการจัดการศึกษาของครูใหญ่

3.1. Learning to know

3.1.1. เรียนรู้วิธีใหม่ๆในการสร้างรายได้และการพัฒนาตนเองและสังคม

3.2. Learning to do

3.2.1. การเรียนรู้จากประสบการณ์ เช่น การให้นักเรียนลงมือเลี้ยงไก่ เลี้ยงผึ้งด้วยตนเอง

3.3. Learning to live together

3.3.1. การเรียนรู้ผ่านการลงมือทำกิจกรรม การสร้างโรงเรียน ทำให้เกิดการเรียนรู้การอยู่ร่วมกันได้

3.4. Learning to be

3.4.1. มีความรอบรู้ ประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ และความเป็นอยู่ในอนาคต

4. แนวคิดและกลวิธีการจัดการศึกษา

4.1. ความคิด

4.1.1. คำขวัญ "การทำงานหนักเป็นดอกไม้ของชีวิต" ของครูใหญ่สร้างแรงกระตุ้นและแรงบันดาลใจให้ กับคนในหมู่บ้านมีความตั้งใจและอยากพัฒนา

4.2. ลงมือทำ

4.2.1. ครูใหญ่ลงมือทำด้วยตัวเองไม่ว่าจะเป็นการสร้างโรงเรียนหรือการเลี้ยงสัตว์ เพื่อสร้างแรงกระตุ้นและแรงผลักดันให้เกิดการะบวนการเรียนรู็การพัฒนา ตนเองเพื่อการเอาตัวรอดในสังคม

4.3. พัฒนาต่อยอด

4.3.1. ครูใหญ่ไม่เคยที่จะหยุดพัฒนา ยังคงต่อยอดและส่งเสริมสร้างรายได้ และการพัฒนาอาชีพให้เด็กๆ ให้ชาวบ้านมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและ สามารถพึ่งพาตนเองได้