시작하기. 무료입니다
또는 회원 가입 e메일 주소
เทคโนโลยี 저자: Mind Map: เทคโนโลยี

1. เทคโนโลยีท้องถิ่นและเทคโนโลยีนำเข้า

1.1. เทคโนโลยีท้องถิ่น

1.1.1. เกิดขึ้นจากประสบการณ์ ในการดำเนินชีวิต ของคนในท้องถิ่นนั้น เทคโนโลยีท้องถิ่น จะมีลักษณะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ของท้องถิ่น

1.1.1.1. ภูมิปัญญาท้องถิ่น

1.1.1.1.1. งานหัตถกรรม

1.1.1.1.2. เครื่องเงิน

1.1.1.2. ระดับของเทคโนโลยีท้องถิ่น

1.1.1.2.1. เทคโนโลยีระดับต่ำ

1.1.1.2.2. เทคโนโลยีระดับกลาง

1.1.1.2.3. เทคโนโลยีระดับสูง

1.2. เทคโนโลยีนำเข้า

1.2.1. เทคโนโลยีการเกษตร

1.2.1.1. สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช

1.2.1.2. การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน

1.2.2. เทคโนโลยีชีวภาพ

1.2.2.1. การผลิตวัคซีน

1.2.2.2. การผลิตยาต่างๆ

1.2.3. เทคโนโลยีทางอุตสาหกรรม

1.2.3.1. อุตสาหกรรมกรดกำมะถัน

1.2.4. เทคโนโลยีการสื่อสาร

1.2.4.1. โทรเลข

1.2.4.2. โทรศัพท์

1.2.4.3. วิทยุ

1.2.4.4. โทรทัศน์

1.2.4.5. โทรสาร

1.2.4.6. อินเตอร์เน็ต

1.2.5. เทคโนโลยีการขนส่ง

1.2.5.1. รถยนต์

1.2.5.2. รถไฟ

1.2.5.3. รถไฟฟ้า

1.2.5.4. การเดินเรือ

1.2.5.5. เครื่องบิน

1.2.5.6. การขนส่งระบบคอนเทนเนอร์

1.2.6. เทคโนโลยีระดับสูง

1.2.6.1. อิเล็กทรอนิกส์

1.2.6.2. คอมพิวเตอร์การสื่อสาร

1.2.6.3. ระบบเลเซอร์

1.2.6.4. หุ่นยนต์

1.2.7. เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์

1.2.7.1. ห้องแลปบนดาวอังคาร

1.2.7.2. กาวสำหรับการเชื่อมหลอดเลือด

1.2.7.3. รถขับเคลื่อนสี่ล้อจากพลังงานไฟฟ้าที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก

1.2.7.4. หน้าจอโทรศัพท์ที่สามารถชาร์จไฟฟ้าได้เอง

1.2.7.5. กรดไขมันช่วยให้สุขภาพของหัวใจดีขึ้น

2. เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ

2.1. ด้านเศรษฐกิจ

2.1.1. นำมาประยุกต์ ใช้ประโยชน์และเพิ่มขีดสามารถในการแข่งขัน

2.1.1.1. ภาคการผลิตและบริการ

2.1.1.2. ภาคการเงินและการคลัง

2.1.2. ประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

2.2. ด้านสังคม

2.2.1. ช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์

2.3. ด้านศึกษา

2.3.1. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

2.3.1.1. Drill and Practice

2.3.1.2. Branching Program

2.3.1.3. Multimedia

2.3.2. การศึกษาทางไกล

2.3.2.1. การใช้วิทยุ โทรทัศน์

2.3.2.2. การสื่อสารโดยใช้ระบบแพร่ภาพผ่านดาวเทียม

2.3.2.3. ระบบการประชุมทางไกล

2.3.3. เครือข่ายการศึกษา

2.3.3.1. เป็นการนำเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้ทำให้ผู้เรียนได้เข้าถึงแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่มีจำนวนมากมายที่เชื่อมโยงในเครือข่ายทั่วโลก

2.3.4. .การใช้งานในห้องสมุด

2.3.4.1. เป็นการประยุกต์ใช้ในการสืบค้นข้อมูลหนังสือ วารสาร หรือบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ผลงานการวิจัย

2.3.5. การใช้งานในห้องปฏิบัติการ

2.3.5.1. เป็นการประยุกต์ใช้ในสำนักงานเพื่อช่วยในการบริหาร จัดการ ทำให้เกิดความคล่องตัว รวดเร็วและแม่นยำ

2.3.5.1.1. การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจำลองสถานการณ์

2.3.5.1.2. การใช้ในงานประจำและงานบริหาร

2.4. ด้านสาธารณสุข

2.4.1. การลงทะเบียนผู้ป่วย

2.4.2. การสนับสนุนการรักษาพยาบาล

2.4.3. สามารถให้คำปรึกษาทางไกล

2.4.4. การให้ความรู้หรือการเรียน

2.5. ด้านสิ่งแวดล้อม

2.5.1. ใช้เทคโนโลยี GIS เข้ามาจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลทางภูมิศาสตร์

3. ความหมาย

3.1. วิทยาการที่นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ และอุตสาหกรรม

4. ความสัมพันธ์และบทบาทของเทคโนโลยี

4.1. ด้านการดำรงชีวิตประจำวัน

4.1.1. มีบทบาทในด้านการใช้เพื่อพัฒนาการเกษตร

4.1.2. มีบทบาทในการติดต่อสื่อสาร

4.2. ด้านพัฒนาประเทศ

4.2.1. มีบทบาทในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการรับรู้ข่าวสารและวิทยาการใหม่ๆ จากต่างประเทศ

4.2.2. มีบทบาทในการเป็นตัวช่วยในด้านการสื่อสารเพื่อประสานงานหน่วยงานต่างๆของรัฐ

4.3. ด้านสิ่งแวดล้อม

4.3.1. มีบทบาทในการช่วยส่งเสริมป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

4.3.2. มีบทบาทในการใช้เพื่อสำรวจและศึกษาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมโดยจะได้ข้อมูลที่ทันสมัยและละเอียด

5. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนยีกับศาสตร์อื่นๆ

5.1. วิทยาศาสตร์

5.1.1. เทคโนโลยมีการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นส่วนใหญ่ เพื่อแก้ปัญหาทางเทคโนโลยี นั่้นคือการนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปคู่กับการปฎิบัตินั่นเอง

5.2. เกษตรศาสตร์

5.2.1. เทคโนโลยีกับการพัฒนาด้านการเกษตรจะใช้เทคโนดลยีในการเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงพันธุ์ เป็นต้น

5.2.2. การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาด้านการเกษตรจะต้องศึกษาปัจจัยแวดล้อมหลายด้าน

5.2.2.1. ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม

5.2.2.2. ความเสมอภาคในโอกาส

5.3. ศึกษาศาสตร์

5.3.1. การนำเทคโนโลยีการศึกษามาใช้นั้นเพื่อแก้ปัญหาในการศึกษา

5.3.1.1. ปัญหาการสอน

5.3.1.2. ปัญหาผู้เรียน

5.3.1.3. ปัญหาด้านเนื้อหา

5.3.1.4. ปัญหาด้านเวลา

5.3.2. นำเทคโนโลยีมาใช้กับการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนการสอนและการศึกษาอีกด้วย

5.3.3. เทคโนโลยีการศึกษาช่วยให้การศึกษามีพลังมากขึ้น การนำเทคโนโลยีด้านสื่อเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะทำให้การศึกษามีพลัง

5.3.4. เทคโนโลยีการศึกษาทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง และได้พบกับสภาพความจริงในชีวิตมากที่สุด

5.3.5. เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การจัดการศึกษาตั้งบนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทำให้การจัดการศึกษาเป็นระบบและเป็นขั้นตอน

5.3.6. เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การเรียนการสอนมีความหมายมากขึ้น ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้กว้างขวาง เรียนได้เร็วขึ้น ทำให้ผู้สอนมีเวลาให้ผู้เรียนมากขึ้น

5.4. โภชนศาสตร์

5.4.1. เป็นวิทยาศาสตร์ประยุกต์แขนงหนึ่งระหว่างอาหารกับกระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต

5.4.1.1. ช่วยให้มีสุภาพ พลานามัยดี

5.4.1.2. ผลผลิตที่ได้จากทางการเกษตรสามารถใช้เป็นวัตถุดิบในหลายๆด้าน

5.4.1.2.1. การประกอบอาหาร

5.4.1.2.2. การถนอมอาหาร

5.4.1.2.3. การแปรรูปอาหาร

5.5. แพทยศาสตร์

5.5.1. เทคโนโลยีทางการแพทย์มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

5.5.1.1. เพื่อรองรับการให้บริการผู้ป่วยและการจัดการบริหารงานของระบบโรงพยาบาล

5.5.1.2. ประชาชนและผู้ป่วยสามารถเข้าถึงข้อมูลทางการแพทย์สาธารณสุข

5.5.1.3. ประชาชนและผู้ป่วยสามารถใช้บริการสาธารณสุขจากที่บ้านโดยไม่ต้องเดินทาง

5.6. พลังงานกับสิ่งแวดล้อม

5.6.1. เทคโนโลยีจากพลังงานแสงอาทิตย์

5.6.1.1. ใช้เพื่อผลิตกระเเสกระแสไฟฟ้า

5.6.1.2. ใช้เพื่อผลิตความร้อน