รูปแบบการจัดการเรียนรู้ (Instructional Model)

Начать. Это бесплатно
или регистрация c помощью Вашего email-адреса
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ (Instructional Model) создатель Mind Map: รูปแบบการจัดการเรียนรู้ (Instructional Model)

1. Intergration

2. Phychomotor Domain

2.1. วัตถุประสงค์

2.1.1. เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติหรือทำงานที่ต้องอาศัยความเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อให้มีความถูกต้องและมีความชำนาญ

2.2. กระบวนการเรียนการสอน

2.2.1. 1. ขั้นการรับรู้

2.2.2. 2. ขั้นการเตรียมความพร้อม

2.2.3. 3. ขั้นการตอบสนองภายใต้การควบคุม

2.2.4. 4. ขั้นการลงมือจนทำเองได้

2.2.5. 5. ขั้นการทำอย่างชำนาญ

2.2.6. 6. ขั้นการปรับปรุงและประยุกต์ใช้

2.2.7. 7. ขั้นคิดริเริ่ม

3. Process Skill

3.1. การสืบสอบและแสวงหาความรู้เป็นกลุ่ม

3.1.1. แนวคิด

3.1.1.1. จอยส์ และวีล ได้กำหนด 2 แนวคิด คือ การสืบแสวงหาความรู้ และความรู้

3.1.2. วัตถุประสงค์

3.1.2.1. เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ ความเข้าใจ โดยอาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือช่วยกระตุ้น

3.1.3. ขั้นตอน

3.2. ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง: โมเดลชิป

3.2.1. แนวคิด

3.2.2. วัตถุประสงค์

3.2.3. ขั้นตอน

3.3. ใช้ปัญหาเป็นฐาน (Active Learning)

3.3.1. แนวคิด

3.3.2. จุดมุ่งหมาย

3.3.3. ขั้นตอน

4. ความหมาย

4.1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หมายถึง รูปแบบแผนในการจัดการเรียนรู้ ที่มีจุดเน้นที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เฉาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อให้ครูผู้สอนนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของเนื้อหาและผู้เรียน

5. Cognitive Domain

5.1. Concept Attainment Model

5.1.1. วัตถุประสงค์

5.1.1.1. เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มโนทัศน์ของเนื้อหาสาระต่างๆอย่างเข้าใจ และให้คำนิยามของมโนทัศน์ได้

5.1.2. กระบวนการเรียนการสอน

5.1.2.1. ขั้นที่ 1 ผู้สอนเตรียมข้อมูลสำหรับให้ผู้เรียนฝึกหัดจำแนก

5.1.2.2. ขั้นที่ 2 ผู้สอนอธิบายกติกาในการเรียนให้ผู้เรียนเข้าใจซึ่งกันและกัน

5.1.2.3. ขั้นที่ 3 ผู้สอนเสนอข้อมูลตัวอย่างของมโนทัศน์และไม่เป็นมโนทัศน์

5.1.2.4. ขั้นที่ 4 ให้ผู้เรียนบอกคุณสมบัติเฉพาะของสิ่งที่ต้องการสอนจากกิจกรรม

5.1.2.5. ขั้นที่ 5 ให้ผู้เรียนสรุปและจำกัดความในสิ่งที่ต้องการสอน

5.1.2.6. ขั้นที่ 6 ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายถึงวิธีการที่ใช้ในการหาคำตอบ

5.2. Graphic Organizer Instructional Model

5.2.1. วัตถุประสงค์

5.2.1.1. เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม สร้างความหมาย เข้าใจเนื้อหา และจัดระบบข้อมูล ให้ง่ายแก่การจดจำ

5.2.2. กระบวนการเรียนรู้อย่างมีความหมาย

5.2.2.1. 1. การเลือกรับข้อมูลที่สัมพันธ์กัน

5.2.2.2. 2. การจัดระเบียบข้อมูลเข้าสู่โครงสร้าง

5.2.2.3. 3. การบูรณาการข้อมูลเดิม

5.2.2.4. 4. การเข้ารหัสข้อมูลการเรียนรู้

6. Affective Domain

6.1. วัตถุประสงค์

6.1.1. เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาความรู้สึก เจตคติ ค่านิยม คุณธรรม หรือจริยธรรมที่พึงประสงค์ ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเป็นไปตามต้องการ

6.2. ขั้นการจัดการเรียนรู้ของบลูม

6.2.1. ขั้นที่ 1 การรับรู้

6.2.2. ขั้นที่ 2 การตอบสนอง

6.2.3. ขั้นที่ 3 การเห็นคุณค่า

6.2.4. ขั้นที่ 4 การจัดระบบ

6.2.5. ขั้นที่ 5 การสร้างลักษณะนิสัย