ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory system)

Начать. Это бесплатно
или регистрация c помощью Вашего email-адреса
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory system) создатель Mind Map: ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory system)

1. หน้าที่หลักของระบบไหลเวียนเลือด คือเป็นทางลำเลียงก๊าซออกซิเจน จากอวัยวะหายใจ เช่น ปอด และลำเลียงสารอาหารจากระบบทางเดินอาหารไปสู่เซลล์ แล้วลำเลียงก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ และของเสียจากเซลล์ไปกำจัดออกที่ปอดและขับถ่ายปัสสาวะตามลำดับ

2. ความดันเลือด (Blood pressure)

2.1. แรงดันของเลือดที่ไปดันผนังหลอดเลือดมาจากหัวใจบีบตัวดันเลือดออกไปและความยืดหยุ่นของผนังหลอดเลือดทำให้เกิดแรงดันขึ้น

2.2. ปัจจัยที่มีผลต่อความดันโลหิต

2.2.1. อายุ

2.2.2. เพศ

2.2.3. ขนาดร่างกาย

2.2.4. อารมณ์

2.2.5. ออกกำลังกาย

3. เลือดและองค์ประกอบเลือด

3.1. เม็ดเลือดแดง

3.1.1. เซลล์เม็ดเลือดแดงไม่มีนิวเคลียส รูปร่างคล้ายโดนัท ไม่มีรูตรงกลาง ภายในเซลล์เต็มไปด้วยฮีโมโกลบิน

3.1.2. หน้าที่

3.1.2.1. นำพาออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไชด์

3.2. ฮีโมโกลบิน

3.2.1. พบในเม็เลือดประกอบด้วย 2 ส่วน คือ Hemo และGobin เม็ดเลือดแดงมีอายุ 80-120 วัน เม็ดเลือดแดงจะแตกและถูกทำลายออกทางกระแสเลือด

3.3. เม็ดเลือดขาว

3.3.1. นิวโตรฟิว

3.3.1.1. ต่อต้านกับเชื้อโรค ช่วยป้องกันและทำลายเชื้อโรค หรือสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย

3.3.2. ลิมโฟซัยท์

3.3.2.1. ไม่มีแกรนูล สร้างมาจากเนื้อเยื่อต่อมน้ำเหลือง กำจัดและต่อต้านเชื้อโรคสิ่งแปลกปลอมสู่ร่างกาย

3.3.3. อีโอซิโนฟิล

3.3.3.1. มีคุณสมบัติในการต่อสู้ป้องกันพยาธิและทำลายสารฮิสตามิน

3.3.4. เบโซฟิว

3.3.4.1. การจับกินเชื้อโรคคล้ายกับอีโอซิโนฟิล และสร้างเฮพพารินซึ่งเป็นสารที่ช่วยป้องกันการแข็งตัวเลือด

3.3.5. โมโนซัยท์

3.3.5.1. เป็น phagocytic cell ต่อสู้แบคทีเรียคล้ายกับนิวโตรฟิว สร้างได้เร็วกว่าและอายุนานกว่านิวโตรฟิล

3.4. เกล็ดเลือด

3.4.1. สร้างจากไขกระดูก ปอด ม้าม ก่อให้เกิดกลไกในการแข็งตัวของเลือด

3.4.2. หน้าที่

3.4.2.1. การจับกินเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่างๆเข้าสู่ร่างกาย

3.5. น้ำเลือด

3.5.1. เป็นของเหลวของโลหิตมีลักษณะเป็นนำใส ไม่มีเซลล์ เป็นตัวกลางสำคัญในการขนส่งโลหิตให้ไหลเวียนในหลอดเลือด คอยรักษาความสมดุลของร่างกาย

3.5.2. ถูกสร้างขึ้นที่ตับและ Lymphoid tissue

4. หัวใจ(Heart)

4.1. วางเฉียงอยู่ระหว่างปอด มีขนาดประมาณเท่ากำปั้นแน่นของเจ้าของ มีเยื่อหุ้มหัวใจ เป็นถุง 2 ชั้น ระหว่างชั้นทั้งสองจะมี เพอร์ริคาร์เดียลฟลูอิค หล่อลื่น เพื่อป้องกันการเสียดสี

4.2. ผนังหัวใจ

4.2.1. ชั้นนอก (epicardium)

4.2.1.1. เป็นเยื่อหุ้มบางและใสเส้นเลือดใหญ่ผ่าน เนื่อเยื่อไขมันมาก

4.2.2. ชั้นกลาง (myocardium)

4.2.2.1. ชั้นกล้ามเนื้อที่เป็นผนังส่วยใหญ่ของหัวใจ การบีบตัวของหัวใจ

4.2.3. ชั้นใน (endocadium)

4.2.3.1. เยื่อบุบางๆ มีชั้นของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันและกล้ามเนื้อเรียบ

5. ห้องหัวใจ

5.1. หัวใจห้องบนขวา

5.1.1. หัวใจส่วนนี้จะทำหน้าที่รับเลือดจากหลอดเลือดดำที่ส่งเลือดมาจากร่างกายช่วงบนและช่วงล่าง

5.2. หัวใจห้องล่างขวา

5.2.1. ตำแหน่งของหัวใจส่วนนี้จะอยู่ด้านหน้าสุดของหัวใจ ทำหน้าที่รับเลือดต่อจากหัวใจห้องบนขวา และส่งเลือดไปยังปอดผ่านลิ้นหัวใจและหลอดเลือดแดง

5.3. หัวใจห้องล่างซ้าย

5.3.1. ห้องหัวใจที่มีผนังหัวใจหนาที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุด ทำหน้าที่สูบฉีดเลือดที่มีออกซิเจนซึ่งได้รับมาจากหัวใจห้องบนซ้ายซึ่งจะแตกแขนงเป็นหลอดเลือดแดงขนาดต่างๆ ไปจนถึงเป็นหลอดเลือดฝอยส่งไปทั่วร่างกาย

5.4. หัวใจห้องบนซ้าย

5.4.1. ตำแหน่งของห้องหัวใจบนซ้าย จะอยู่ด้านหลังสุด และเป็นห้องหัวใจที่มีขนาดเล็กที่สุดเมื่อเทียบกับห้องหัวใจอื่นๆ หัวใจห้องบนซ้ายจะคอยรับเลือดที่ฟอกแล้วจากปอดซ้ายและปอดขวา

6. หลอดเลือดและการไหลของเลือด

6.1. 1.หลอดเลือด

6.1.1. ออกจากหัวใจทางเลือดอาร์เตอร์ขนาดใหญ่เรียกว่า เอออร์ตา ไหลตามอาร์เตอรี จนถึงอาร์เตอรีโอล เข้าสู่หลอดเลือดฝอย ที่เชื่อกับหลอดเลือดเวน

6.2. 2. หลอดเลือดอาร์เตอรี

6.2.1. ขนาดใหญ่มีผนังหนา ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ผนังมีความยืดหยุ่นดีมาก ในการปรับแรงดันของเลือดมีผลทำให้เลือดไหลไปยังสวนต่างๆของร่างกาย

6.3. 3. หลอดเลือดเวน

6.3.1. มีผนัง 3 ชั้น ความดันเลือดในหลอดเลือดเวนต่ำกว่าในหลอดเลือดอาร์เตอรี