จรรยบรรณวิชาชีพครูกับความเป็นมุอัลลิมร็อบบานีย์

Начать. Это бесплатно
или регистрация c помощью Вашего email-адреса
จรรยบรรณวิชาชีพครูกับความเป็นมุอัลลิมร็อบบานีย์ создатель Mind Map: จรรยบรรณวิชาชีพครูกับความเป็นมุอัลลิมร็อบบานีย์

1. ด้านที่ 2จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ข้อที่ 2 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ

2. ด้านที่ 1 จรรยาบรรณต่อตนเอง ข้อที่ 1 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ

3. 2. ปฏิบัติความรู้ที่ได้รับมาจากวะห์ยู สร้างบุคลิกภาพและชีวิติที่ดีกับตนเอง ครอบครัว รวมไปถึงสร้างคุณประโยชน์กับคนอื่นๆ

4. ลักษณะมุอัลลิมร็อบบานี 1.ฟะห์ฮัม มีความเข้าใจ ค้นหาคำตอบเพิ่มเติมเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น เช่น เข้าใจความรู้อัลกุรอานและซุนนะห์ เข้าใจความรู้เพ่อปฏิบัติหน้าที่ในการสอน เข้าใจความรู้ที่เกี่ยวข้องในการทำงาน และเข้าใจความสำคัญของความรู้ต่างๆรวมทั้งมีความพยายามอยู่เสมอ

5. จรรยาบรรณวิชาชีพครูมี 5 ด้าน 9 ข้อ

5.1. ด้านที่ 3จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ ข้อที่ 3 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กําลังใจแก่ศิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้าข้อที่ 4 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัย ที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ข้อที่ 5 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ข้อที่ 6 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทําตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ และผู้รับบริการ ข้อที่ 7 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตําแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ

5.2. ด้านที่ 4 จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ข้อที่ 8 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ

5.3. ด้านที่ 5 จรรยาบรรณต่อสังคม ข้อที่ 9 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นําในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

6. ความสำคัญ จรรยาบรรณวิชาชีพครู ซึ่งสรุปได้ ๓ ประการคือ ๑. ปกป้องการปฏิบัติงานของสมาชิกในวิชาชีพ ๒. รักษามาตรฐานวิชาชีพ ๓. พัฒนาวิชาชีพ

7. มุอัลลิมร็อบบานีย์ หมายถึง ผู้ที่ทรงภูมิความรู้ด้านต่างๆ ของอิสลาม อันมาจากอัลกุรอานและซุนนะห์ และมีความพยายามเพิิ่มพูนความรู้ อีกทั้งมีคุณลักษณะที่น่ายกย่องสรรเสริญ ปฏิบัติด้วยความบิริสุทธ์ใจเป็นอิบาดะห์และยำแกรงต่อผู้ทรงสร้าง

8. 3.ตักวาและค็อชยะฮห้ามความรู้สึกไม่ให้ทำบาปต่ออัลลอฮ์

9. 4.ศิดก์ ต้องมีความสัจจริงและห้ามโกหก

10. 5.มีอามานะห์ น่าเชื่อถือ ซื่อสัตย์ และไว้วางใจได้

11. ความหมาย จรรยาบรรณวิชาชีพครู คือ กฎแห่งความความประพฤติสำหรับสมาชิกวิชาชีพครู ซึ่งองค์กรวิชาชีพครูเป็นผู้กำหนด และสมาชิกในวิชาชีพทุกคนต้องถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด หากมีการละเมิดจะมีบทลงโทษ

11.1. 9.อดทนและควบคุมอารมณ์ให้นิ่ง

12. ลักษณะของจรรยาบรรณวิชาชีพครู จรรยาบรรณวิชาชีพครูจะต้องมีลักษณะ ๔ ประการคือ ๑. เป็นคำมั่นสัญญาหรือพันธะผูกพนัต่อผู้เรียน (Commitment to the student) ๒. เป็นคำมั่นสัญญาหรือพันธะผูกพนัต่อสังคม (Commitment to the society) ๓. เป็นคำมั่นสัญญาหรือพันธะผูกพนัต่อวิชาชีพ (Commitment to the profession) ๔. เป็นคำมั่นสัญญาหรือพันธะผูกพนัต่อสถานปฏิบัติงาน (Commitment to the employment practice)

13. 6.ตับลีฆ คือ การถ่ายทอดสารความรู้ของอิสลามแก่ผู้อื่น

14. 7.มีไหวพริบและเฉลียวฉลาด

15. 8.มีจรรยามารยาทที่สอดคล้องกับคำสอนของอัลกุรอานและสุนนะห์

16. 10.เอ็นดูรักใคร่ห่วงใยเอาใจใส่รับผิดชอบ