Начать. Это бесплатно
или регистрация c помощью Вашего email-адреса
Covid - 19 создатель Mind Map: Covid - 19

1. การรักษา

1.1. กลุ่มที่1,2

1.1.1. สามารถหายเองได้

1.1.2. รักษาตามอาการ

1.1.3. กักตัว14วันหลังมีอาการ

1.2. กลุ่มที่3,4

1.2.1. กลุ่มที่มีโรคประจำตัว

1.2.2. อาการรุนแรง

1.2.3. ได้รับยาต้านไวรัส5-10วัน

1.2.4. กักตัวครบ14วัน

1.2.5. หลังกักตัวไม่มีอาการ1-2

1.3. เพิ่มเติม

1.3.1. สำหรับใครที่เป็นโควิดปอดอักเสบ การนอนคว่ำ (Early Prone) ทำให้ช่วยเพิ่มการแลกเปลี่ยนแก๊ส และเพิ่มออกซิเจนได้ โดยทำท่าต่อไปนี้

1.3.1.1. 1.นอนคว่ำ 30นาที - 2ชั่วโมงง

1.3.1.2. 2.นอนตะเเคงด้านขวาลง 30นาที - 2ชั่วโมง

1.3.1.3. 3.ท่านั่ง 30นาที - 2ชั่วโมง

1.3.1.4. 4.นอนตะเเคงด้านซ้ายลง 30นาที - 2ชั่วโมง

1.3.1.5. 5.กลับมาท่านอนคว่ำ

2. สายพันธุ์

2.1. สายพันธุ์เดลตา

2.1.1. ระบาดเร็วเเพร่เชื้อง่าย หลบเลี่ยงภูมิคุ้มกันได้

2.2. สายพันธุ์แกมมา

2.2.1. รุนเเรงกว่าสายพันธุ์อื่นๆเลี่ยงภูมิคุ้มกันประสิทธิภาพวัคซีน

2.3. สายพันธุ์อัลฟา

2.3.1. เลี่ยงภูมิคุ้มกันได้ดีที่สุด

2.3.2. เเพร่กระจายได้ง่ายกว่าสายพันธุ์อื่น 40%-70%

2.4. สายพันธุ์เบต้า

2.4.1. ระบาดเร็วเเพร่เชื้อไวขึ้น 50% ลดประสิทธิภาพ antibody

3. vaccine

3.1. Pfizer-BioNTech

3.1.1. more than 12 years

3.1.2. 2 shots

3.1.2.1. 3 week apart

3.1.3. Fully vaccinated

3.1.3.1. 2 week after second shot

3.2. Moderna

3.2.1. More than 18 years

3.2.2. 2 shots

3.2.2.1. 4 week apart

3.2.3. Fully vaccinated

3.2.3.1. 2 week after second shot

3.3. Johnson & Johnson’s Janssen

3.3.1. More than 18 years

3.3.2. 1 shot

3.3.3. Fully vaccinated

3.3.3.1. 2 week after second shot

4. การตรวจ

4.1. 1. การตรวจโควิดแบบ Polymerase chain reaction: RT-PCR

4.1.1. ก็บตัวอย่างเชื้อจากด้านหลังโพรงจมูก หรือลำคอ ด้วยก้านเก็บตัวอย่าง Swab test

4.2. 2. การตรวจโควิดแบบ Rapid test การตรวจแบบ Rapid test

4.2.1. เป็นการนำตัวอย่างเลือดไปตรวจหาเชื้อไวรัส (Antigen) หรือภูมิคุ้มกัน (Antibody) ขึ้นอยู่กับชุดตรวจ

5. วิธีการป้องกัน

5.1. 1.สร้างภูมิคุ้มกัน

5.1.1. -ออกกำลังกาย

5.1.2. -กินร้อน ช้อนส่วนตัว

5.1.3. -นอน พักผ่อนให้เพียงพอ

5.2. 2.Social distance

5.2.1. -กักตัวอยู่ที่บ้าน

5.2.2. -เว้นระยะห่าง 1 เมตร

5.2.3. -เลี่ยงสัมผัส และสถานที่แออัด

5.3. 3.การล้างมือ

5.3.1. -หลังไอ จาม

5.3.2. -ก่อน-หลังทานอาหาร

5.3.3. -หลังจับสิ่งของที่สาธารณะ

5.4. 4.การเฝ้าระวัง

5.4.1. -สวมหน้ากากอนามัย

6. อาการเเต่ละสายพันธุ์

6.1. สายพันธุ์เดลตา

6.1.1. อาการคล้ายเป็นหวัด

6.1.2. ไม่ค่อยสูญเสียการรับรส

6.1.3. มีน้ำมูก

6.1.4. เจ็บคอ

6.1.5. ปวดศีรษะ

6.2. สายพันธุ์แกมม่า

6.2.1. ลิ้นไม่รับรส

6.2.2. ไอต่อเนื่อง

6.2.3. หอบเหนื่อย

6.2.4. หายใจลำบาก

6.2.5. มีไข้>37.5องศา

6.3. สายพันธุ์อัลฟา

6.3.1. มีไข้(มักมีไข้ตั้งเเเต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป)

6.3.2. ไอ เจ็บคอ

6.3.3. หายใจหอบเหนื่อย

6.3.4. อาเจียนหรือท้องเสีย

6.3.5. มีน้ำมูก

6.3.6. ปวดเมื่อย ปวดศีรษะ

6.3.7. หนาวสั่น

6.3.8. การรับรสหรือได้กลิ่นผิดปกติ

6.4. สายพันธุ์เบต้า

6.4.1. เจ็บคอ

6.4.2. ปวดศรีษะ

6.4.3. ปวดเมื่อย

6.4.4. ท้องเสีย

6.4.5. ตาแดง

6.4.6. ผื่นขึ้นตามผิวหนัง

6.4.7. การรับรสและกลิ่นผิดปกติ