การตอบสนองของผู้ป่วยภาวะวิกฤติ

马上开始. 它是免费的哦
注册 使用您的电邮地址
การตอบสนองของผู้ป่วยภาวะวิกฤติ 作者: Mind Map: การตอบสนองของผู้ป่วยภาวะวิกฤติ

1. การจัดการภาวะสับสนเฉียบพลัน

1.1. ค้นหาและประเมินสาเหตุ และปัจจัย

1.1.1. แนะนำตัวเองกับญาติผู้ป่วย

1.2. ประเมินภาวะสับสนเฉียบพลัน พร้อมความเจ็บปวด การนอนหลับเป็นระยะ

1.2.1. ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล

1.3. การใช้ยา

1.3.1. First generation drug

1.3.1.1. Hadol

1.3.2. Secondary generation

1.3.3. Atypical antipsychotic drug

1.3.3.1. Resperidonr

1.4. ป้องกันอุบัติเหตุและภาวะแทรกซ้อนจากการผูกมัด

1.5. จัดการสิ่งแวดล้อมและลดสิ่งกระตุ้นจากภายนอก

1.5.1. ลดเสียงดัง

1.5.1.1. กลางวัน

1.5.1.1.1. ไม่เกิน 45 เดซิเบล

1.5.1.2. กลางคืน

1.5.1.2.1. ไม่เกิน 35 เดซิเบล

1.6. ส่งเสริมการนอนหลับและตื่นในเวลาปกติ

1.6.1. ส่งเสริมการผ่อนคลาย

1.6.1.1. เปิดโทรทัศน์

2. Sensory deprivation

2.1. เป็นภาวะพรากความรู้สึก

2.2. มีความผิดปติของการรับรู้เกี่ยวกับประสาทรับความรู้สึก

2.2.1. การจำกัด

2.3. ภาวะที่มีการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นลดลง

2.4. สาเหตุ

2.4.1. อยู่ในห้องเล็ก ขอบเขตจำกัด หน้าต่างน้อย ปิดมิดชิด

2.4.2. บุคลากรทำงานเร่งรีบ ไม่มีเวลาสัมผัสผู้ป่วย

2.4.3. เคลื่อนไหวตัวเองอไม่ได้ ถูกจำกัดการเคลื่อนไหว

2.4.3.1. ผูกมัด

2.4.3.2. sedation

2.4.4. ได้รับการกระตุ้นที่ไม่มีความหมาย

2.4.4.1. แสงไฟ

2.4.4.2. เสียงเครื่องมือ

2.4.4.3. เสียงโทรศัพท์

2.4.5. ความเจ็บปวดและถูกรบกวนจากการรักษาบ่อย

2.4.6. สังเกตและประเมินอาการผู้ป่วยเป็นระยะๆ

2.5. กิจกรรมการพยาบาล

2.5.1. ลดระดับเสียงดังอุปกรณ์ต่างๆ

2.5.2. สร้างสัมพันธภาพ พูดคุยและสัมผัสก่อนให้การพยาบาล

2.5.3. รวมกิจกรรมการพยาบาลทำพร้อมกัน

2.5.3.1. ไม่รบกวนผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น

3. Sensory overload

3.1. ภาวะที่ได้รับการกระตุ้นมากเกินไป

3.2. การรบกวนบ่อยครั้ง

3.2.1. สาเหตุ

3.2.1.1. ถูกรบกวนจากสิ่งแวดล้อมในหอผู้ป่วย

3.2.1.2. กิจกรรมการรักษาพยาบาลที่บ่อยครั้ง

3.3. ได้รับอย่างต่อเนื่อง

3.4. อาการ

3.4.1. สะดุ้ง ตกใจ

3.4.2. กล้ามเนื้อตึงตัวมากขึ้น นอนไม่หลับ

3.4.3. หงุดหงิด ก้าวร้าว

3.4.4. ตกใจง่าย

3.4.5. ปวดศีรษะ คลื่นไส่อาเจียน

3.4.6. ม่านตาขยาย

3.4.7. หัวใจเต้นเร็ว

3.5. กิจกรรมการพยาบาล

3.5.1. ประเมินาการผู้ป่วย เช่น ก้าวร้าว หงุดหงิด ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ม่านตาขยาย

3.5.2. ลดสิ่งกระตุ้น อุปกรณ์ต่างๆ

3.5.3. รวบรวมกิจกรรมการพยาบาล ไม่รบกวนผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น

4. ชนิดของ ICU delirium

4.1. Hypoactive delirium

4.1.1. ถูกละเลยการประเมินมากที่สุด

4.2. Hyperactive delirium

4.3. Mix delirium

4.3.1. พบมากที่สุด

5. ICU delirium

5.1. เป็นภาวะที่สมองทำงานบกพร่องกะทันหัน

5.1.1. เกิดภาวะสับสนอย่างกะทันัน

5.1.2. กระวนกระวาย

5.1.3. ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง

5.1.4. นอนไม่หลับ

5.1.5. ซึมเศร้า หลงผิด

5.1.6. ความคิด สติปัญญา ความจำ สมาธิเสียไป

5.1.7. เกิดในเวลาเป็นชั่วโมงหรือวัน

5.1.7.1. พบในผู้ป่วยที่นอน ICU นานกว่า 5-7 วัน

5.1.7.1.1. ร้อยละ 80

5.1.7.2. พบในผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ

5.1.7.3. สัมพันธ์กับภาวะแทรกซ้อน การเสียชีวิตและการอยู่ใน ICU ในรพ.นานขึ้น

5.2. สาเหตุ

5.2.1. ผู้ป่วยสูงอายุที่สมองเสื่อมและอยู่ ICU นาน

5.2.2. พยาธิสภาพของโรค

5.2.2.1. หายใจล้มเหลว

5.2.2.2. โรคระบบประสาทและสมอง

5.2.2.3. ตับวาย,ไตวาย

5.2.2.4. หัวใจวาย

5.2.2.5. Severe Sepsis

5.2.2.6. ใช้สารเสพติด

5.2.2.7. Alcohol with drawal

5.2.2.8. Electrilyte imbalance

5.2.2.8.1. Na↓

5.2.2.9. ภาวะซีด

5.2.2.9.1. Hb↓

5.3. สิ่งแวดล้อม

5.3.1. ห้องไม่มีหน้าต่าง

5.3.1.1. แสงสว่าง

5.3.1.1.1. เสียงดัง

5.4. ผลข้างเคียงจากยา

5.4.1. Benzodiazepine

5.4.1.1. Opioids

5.4.1.1.1. Antihistamine

5.5. ใส่เครื่องช่วยหายใจและอยู่ ICU นานกว่า 36 ชม.

5.6. ลักษณะเฉพาะที่สำคัญ

5.6.1. มีการเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ อารมณ์และพฤติกรรมขึ้นๆ ลงๆ

5.6.2. สมาธิต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดลดลง

5.6.3. ระดับความรู้สึกตัวลดลง ง่วงซึม

5.7. กิจกรรมการพยาบาล

5.7.1. ยกไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้งหลังให้การพยาบาล

5.7.2. จัดสิ่งแวดล้อมลดการกระตุ้นจากภายนอก

5.7.3. จัดสิ่งแวดล้อมให้ทราบวัน เวลา สถานที่

5.7.4. ประเมินระดับความรู้สึกตัวและอาการผู้ป่วยเป็นระยะ