พระไตรปิฎก

马上开始. 它是免费的哦
注册 使用您的电邮地址
พระไตรปิฎก 作者: Mind Map: พระไตรปิฎก

1. การสังคายนา

1.1. คือ การรวบรวมคำสอนให้เป็นหมวดหมู่

1.2. พระพุทธวจนะที่พพจ.ตรัสสอน เดิมสืบทอดด้วยการท่องจำ

1.3. เดิมพระสาวกที่เป็นพระอรหันต์ยังมอยู่มากจึงไม่เกิดการคลาดเคลื่อน ต่อมาเมื่อพระอรหันตสาวกน้อยลงจึงเกิดความคลาดเคบื่อน ความสงสัย และเข้าใจผิดในพระธรรมวินัย จึงเกิดการสังคายนา

2. การศึกษาค้นคว้าพตป.&คัมภีร์รองอื่นๆ

2.1. หน้าที่ของพศน.

2.1.1. ต้องศึกษาเรียนรู้และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

2.1.2. เพื่อช่วยอำนวยประโยชน์สุขให้แก่ตนและชาติ

2.2. ลำดับความสำคัญของคัมภีร์ทางพพศ

2.2.1. 1. พตป.

2.2.1.1. หลักฐานชั้น 1 "พระบาลี"

2.2.2. 2. คัมภีร์อธิบายพตป.

2.2.2.1. หลักฐานชั้น 2 "อรรถกถา,วัณณนา"

2.2.3. 3. คัมภีร์อธืบายอรรกถา

2.2.3.1. หลักฐานชั้น 3 "ฎีกา"

2.2.4. 4. คัมภีร์อธิบายฎีกา

2.2.4.1. หลักฐานชั้น 4 "อนุฎีกา"

3. การสังคายนา&เผยแผ่พตป.

3.1. การเผยแพร่พตป.

3.1.1. การศึกษา

3.1.1.1. การศึกษาภาษาบาลี สามารถแปลและเข้าใจคำสอนได้

3.1.1.2. รวมถึงการสอนพระปริยัติธรรมของพระภิกขุ สามเณร ปชช.

3.1.2. การจารึก&จัดพิมพ์พตป.

3.1.2.1. ศึกษาจนเข้าใจถูกต้องแล้วมีการคัดลอกจารึกบนวัตถุต่างๆ

3.1.2.2. การจารพตป.ได้บุญเท่าการสร้างพพร.

3.1.2.3. เวลาผ่านไปการจารึกเปลี่ยนเป็นพิมพ์

3.1.2.3.1. ทำให้แพร่หลายของพตป.ขยายวงออกไปจนมีการจัดส่งพตป.ไปยังประเทศต่างๆ

3.1.2.3.2. เพื่อให้พศช.และชตช.ได้ศึกษา

3.1.3. การปฎิบัติตามหลักคำสอน

3.1.3.1. พพจ.เป็นผู้สอนเพียงผู้เดียว

3.1.3.2. พศช.มีหน้าที่นำหลักคำสอนไปทำตาม

3.1.3.2.1. คือการปฎิบัติตนตามหลักธรรมในพตป.

3.1.4. การเทศนาสั่งสอนหรือการบอกธรรม

3.1.4.1. ทำต่อๆกันมาก่อนมีพตป.อีก

3.1.4.2. ปัจจุบันก็ทำอยู๋

3.1.4.3. เป็นวิธีการเผยแพร่ที่ประสบความสำเร็จสูง

3.1.4.3.1. เพราะตราบใดมีการสั่งสอนก็แสดงว่ายังมีการศึกษาอยู่

4. คุณค่า&ความสำคัญ

4.1. มีความสำคัญโดยตรงที่เป็นหลักฐานสำคัญเพื่อยืนยันคำสอนและหลักปฏิบัติ

4.1.1. เป็นที่รวบรวมพระพุทธวจนะ

4.1.1.1. คำสั่งสอนของพพจ.ที่ทรงแสดงมาตลอด

4.1.2. เป็นที่สถิตของพระศาสดาของพศช.

4.1.2.1. พระธรรมวินัยเป็นพระศาสดาแทนพระองค์

4.1.3. แหล่งข้อมูลเดิมของหลักคำสอนในพพศ.

4.1.3.1. หนังสือหรือคัมภีร์หรืออื่นๆเป็นเพียงการขยายความและต้องสอดคล้องพตป.

4.1.3.2. พตป.เป็นแม่บท

4.1.4. หลักฐานอ้างอิงความถูกต้องของพพศ.

4.1.4.1. การกล่าวอ้างถึงหลักการทางพพศ.ด้วยพตป.จะถูกต้องน่าเชื่อถือ

4.1.5. เกณฑ์มาตรฐานตรวจสอบคำสอนในพพศ.

4.1.5.1. ว่าสอดคล้องพตป.ไหม

4.1.6. เกณฑ์มาตราฐานตรวจสอบความเชื่อ&ข้อปฏิบัติในพพศ.

4.1.6.1. ความเชื่อถือ ข้อปฎิบัติ พฤติกรรม จะวินิจฉัยว่าถูกต้องไหม ก็อาศัยพระธรรมวินัยจากพตป.

4.2. คุณค่าสำคัญ ด้านอื่นๆ

4.2.1. เป็นบันทึกหลักฐานทางปวศ.

4.2.1.1. เกี่ยวกัยลัทธิความเชื่อ เรื่องราวเหตุการณ์ ต่างๆ

4.2.2. แหล่งความรู้

4.2.2.1. คำสอนในพพศ.มีเนื้อหาสาระเชื่อมโยงกับวิชทยาการหลายสาขา

4.2.3. แหล่งข้อมูลเดิมของภ.บาลีที่นำมาใช้ในภ.ไทย

4.2.3.1. ภ.บาลีคือรากฐานส่วนหนึ่งของภ.ไทย พตป.จึงมีความสำคัญต่อการศึกษาภ.ไทย

4.2.4. เป็นคัมภีร์ชีวิต

4.2.4.1. เป็นที่รวมคำสอนเพื่อความสงบสุขในชีวิต หากทำตามก็จำประสบความสำเร็จในชีวิต

5. การเข้าถึงพพศ.ที่แท้จริง คือ การศึกษาหลักธรรมในพตป.ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และนำไปปฏิบัติ