ปวดท้องใต้ลิ้นปี่มาก ร้าวไปที่หลัง 1 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล

马上开始. 它是免费的哦
注册 使用您的电邮地址
ปวดท้องใต้ลิ้นปี่มาก ร้าวไปที่หลัง 1 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล 作者: Mind Map: ปวดท้องใต้ลิ้นปี่มาก ร้าวไปที่หลัง 1 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล

1. ผลการตรวจร่างกาย

1.1. น้ำหนัก 75 กิโลกรัม ส่วนสูง 162 เซนติเมตร BMI 28.58 อยู่ในเกณฑ์ อ้วน

1.2. อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที

1.3. ชีพจร 110 ครั้ง/นาที

1.4. ความดันโลหิต 100/76 mmHg

1.5. Guarding at RUQ and tenderness ช่องท้องด้านบนขวาเเข็งเกร็ง

1.6. Murphy's sign positive

1.7. Bowel sound 3 ครั้ง/นาที

2. ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

2.1. ผลตรวจเลือด

2.1.1. White blood cell count 15.3 × 10^3 (normal: 4.8-10.8× 10^3)

2.1.2. White cell differential 87% polys,10% bands, 1% lymphocytes (ผิดปกติ)

2.1.3. Glucose 262 mg/dL (normal: 65-105 mg/dL)

2.1.4. Calcium 7.0mg/dL(normal: 8.5-10.5 mg/dL)

2.1.5. Amylase 1220 U/L(normal: <109 U/L)

2.1.6. Lipase 2000 U/L (Normal: 25-300 U/L)

2.1.7. Aspartate aminotransferase (AST) 325 U/L (normal: 15-45 U/L)

2.1.8. Alanine aminotransferase(ALT) 248 U/L (normal: 10-50 U/L)

2.1.9. Alkaline phosphatase 134 U/L (normal: 40-125 U/L)

2.2. ผลตรวจ Ultrasound

2.2.1. Multiple gallstones in the Gallbladder with cholelithiasis (พบนิ่วในถุงน้ำดีร่วมกับนิ่วในทางเดินน้ำดี)

2.2.2. CBD dilated 14 mm (ท่อทางเดินน้ำดีขยาย 14 มิลลิเมตร)

2.3. X-ray abdomen

2.3.1. พบลำไส้ด้านขวาขยายตัวเเละมีลมในลำไส้

2.4. ผลการตรวจ CT scan abdomen

2.4.1. Cholelithiasis with a thin-walled gallbladder <4 mm (พบนิ่วในถุงน้ำดีร่วมกับผนังของถุงน้ำดีบางน้อยกว่า 4 มิลลิเมตร)

2.4.2. a dilated CBD at approximately 14 mm and peripancreatic inflammation localized to the head and body of pancreas without a fluid cplllection (ท่อทางเดินน้ำดีขยายประมาณ 14 มิลลิเมตร และ รอบๆตับอ่อนส่วนหัวเเละBodyอักเสบจากสารน้ำรอบตับอ่อน)

3. แผนการรักษา

3.1. NPO งดน้ำงดอาหาร

3.2. Retain NG tube

3.3. 5% D/NSS 1000 cc IV drip 120 ml/hr และ 0.9% NSS 1000 cc IV drive 40 ml/hr (ให้สารน้ำชนิด 5% เดกซ์โทรสในนอร์มัลซาไลน์ ปริมาณ 1000 มิลลิลิตร ทางหลอดเลือดดำ จำนวน 120 มิลลิลิตร/ชั่วโมง และ 0.9% นอร์มัลซาไลน์ ปริมาณ 1000 มิลลิลิตร ทางหลอดเลือดดำ จำนวน 40 มิลลิลิตร/ชั่วโมง)

3.4. Pethidine 25mg IV drive q 4 hrs (ยาแก้ปวดกลุ่มยาโอปิออยด์ ขนาด 25 มิลลิกรัม ทางหลอดเลือดดำ ทุก 4 ชั่วโมง)

3.5. Cefoxitin 1 g q 8 hrs (ยาปฏิชีวนะกลุ่มเซฟาโลสปอริน ขนาด 1 กรัม ทุก 8 ชั่วโมง)

3.6. RI 4 unit ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง stat(ยาฮอร์โมนอินซูลินชนิดRegular Insulin ขนาด 4 ยูนิต ฉีดทันที)

3.7. Then Humulin N 4 unit ฉีดเข้าใต้ผิวหนังก่อนอาหารเช้าเเละก่อนนอน (ยาฮอร์โมนอินซูลินชนิด Humulin-N ขนาด 4 unit)

3.8. แพทย์ส่งทำ ERCP and Endoscopic sphincterotomy and Cholecystectomy(การส่องกล้องตรวจทางเดินน้ำดีและตับอ่อน เเละตัดหูรูดทางเดินน้ำดีโดยวิธีส่องกล้อง เเละผ่าตัดถุงน้ำดี)

4. การพยาบาลผู้ป่วยก่อน-หลังผ่าตัด และการดูเเลตนเองขณะอยู่ที่บ้าน

4.1. ก่อนผ่าตัด

4.1.1. ปัญหาการพยาบาล

4.1.1.1. มีอุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ เนื่องจากมีการอักเสบของตับอ่อน

4.1.1.1.1. กิจกรรมการพยาบาล

4.1.1.2. มีภาวะท้องอืดเนื่องจากมีการ เคลื่อนไหวของล้าไส้ น้อยกว่าปกติ

4.1.1.2.1. กิจกรรมการพยาบาล

4.1.1.3. เสี่ยงต่อภาวะเสียสมดุลของสาร น้้าและอิเล็กโทรไลต์ เนื่องจาก คลื่นไส้อาเจียนและการงด อาหารและน้้าทางปาก

4.1.1.3.1. กิจกรรมการพยาบาล

4.1.1.4. พร่องความรู้ในการปฏิบัติตัวอย่าง ถูกต้องก่อนผ่าตัด

4.1.1.4.1. กิจกรรมการพยาบาล

4.1.1.5. ผู้ป่วยดูแลตนเองไม่ถูกต้อง เนื่องจากบกพร่องความรู้ในการ ดูแลตนเอง

4.1.1.5.1. กิจกรรมการพยาบาล

4.2. หลังผ่าตัด

4.2.1. ปัญหาการพยาบาล

4.2.1.1. มีโอกาสเกิดอาการแน่นท้อง จากการได้รับการเป่าลมเข้าไปในลำไส้ขณะ ทำการส่องกล้อง

4.2.1.1.1. กิจกรรมการพยาบาล

4.2.1.2. มีโอกาสเกิดพลัดตกหกล้มจากการเคลื่อนย้ายออกจากห้องผ่าตัด เนื่องจากผลข้างเคียงของยาระงับความรู้สึก

4.2.1.2.1. กิจกรรมการพยาบาล

4.2.1.3. มีโอกาสเกิดภาวะ Aspiration หลังทำหัตถการผ่าตัดส่องกล้อง

4.2.1.3.1. กิจกรรมการพยาบาล

4.3. การดูเเลตนเองขณะอยู่ที่บ้าน

4.3.1. ปัญหาการพยาบาล

4.3.1.1. เพื่อให้ผู้ป่วยรู้และเข้าใจความหมาย สาเหตุ อาการ การป้องกันโรคตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน และลักษณะการปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง

4.3.1.1.1. D : Diagnosis

4.3.1.2. เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาที่ตนเองได้รับ รวมทั้งสามารถอธิบายสรรพคุณ ขนาดของยา วิธีการใช้ ข้อควรระวัง ผลข้างเคียง ตลอดจนการสังเกตอาการผิดปกติหลังใช้ยา

4.3.1.2.1. M : Medication

4.3.1.3. เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติได้รับรู้ เข้าใจและสามารถจัดการสภาพแวดล้อม ในบ้าน และป้องกันการติดเชื้อบริเวณบาดแผลได้อย่างเหมาะสมกับ

4.3.1.3.1. E : Environment and Economic

4.3.1.4. เพื่อให้ผู้ป่วยมีความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับการดูแลบาดแผลเมื่อกลับไปอยู่ที่บ้าน เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้เกี่ยวกับความผิดปกติของบาดแผลและอาการที่ควรไปพบแพทย์ เช่น ปวดแผล แผลมีเลือด หนองซึมจำนวนมาก

4.3.1.4.1. T : Treatment

4.3.1.5. เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงวิธีการดูแลตัวเองทั้งด้านร่างกายและจิตใจรวมถึงภาวะแทรกซ้อนได้

4.3.1.5.1. H : Health

4.3.1.6. ผู้ป่วยขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน การมาตรวจตามนัด เหตุผล ผู้ป่วยถุงน้ำดีอักเสบและผู้ป่วยนิ่วน้ำดี มีโอกาสที่จะกลับเป็นขึ้นมาใหม่ได้ ถ้าการปฏิบัติตัวไม่ถูกต้อง และผู้ป่วยบางคนหลังผ่าตัดทำการตัดถุงน้ำดี 5–7 วัน แพทย์ให้กลับบ้าน และนัดมาเอาท่อออกภายหลัง

4.3.1.6.1. O : Out patient

4.3.1.7. เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารที่เพียงพอต่อร่างกาย และป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการรับประทานอาหาร

4.3.1.7.1. D : Diet

5. อาการเเละอาการเเสดง

5.1. คลื่นไส้เเละอาเจียนรุนเเรง

5.2. นอนตัวงออาการปวดจะลดลง

5.3. ทานยาพาราอาการปวดไม่ทุเลา

5.4. มีไข้ อุณหภูมิ 38.6 องศาเซลเซียส

6. ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต

6.1. พบนิ่วในถุงน้ำดี

6.2. โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus: DM)

6.3. โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)

6.4. ไขมันในเลือดสูง(Dyslipidemia)

7. การวินิจฉัยโรค

7.1. โรคท่อทางเดินน้ำดีอักเสบ (Cholangitis)

7.1.1. สาเหตุ

7.1.1.1. จากการอุดกั้นของท่อน้ำดี เนื่องมาจากมีก้อนนิ่วอุดกั้น หรือ ก้อนเนื้องอก หรือ มะเร็ง

7.1.2. อาการเเละอาการเเสดง

7.1.2.1. จะมีอาการที่เรียกว่า Charcot’s triad คือ มีไข้ ตัวเหลืองตาเหลือง และปวดท้องด้านขวาบน

7.1.2.2. ถ้ามีอาการของการติดเชื้อในกระแสเลือดและเริ่มสับสนไม่รู้ตัวร่วมด้วย เรียกว่า Reynold’s pentad

7.1.3. การตรวจวินิจฉัย

7.1.3.1. ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

7.1.3.1.1. ผลการตรวจเลือด

7.1.3.1.2. การเอ็กซเรย์ช่องท้อง

7.1.3.1.3. ผล Ultrasound

7.1.3.2. การซักประวัติการเจ็บป่วยหรือผ่าตัดเกี่ยวกับทางเดินน้ำดี ตับ และตับอ่อน

7.1.3.3. อาการของผู้ป่วย (Charcot’s triad)

7.1.4. ภาวะแทรกซ้อน

7.1.4.1. Cholecystitis การอักเสบของถุงน้ำดี

7.1.4.2. Cholangitis ภาวะการติดเชื้อของน้ำดีภายในท่อน้ำดี (common bile duct, extrahepatic duct และ intrahepatic duct ) จากการตีบตันของท่อน้ำดี

7.1.4.3. Pancreatitis การอักเสบของตับอ่อนที่เกิดจากนิ่วที่ตกลงไป ในท่อน้ำดีแล้วไปอุดตันทางออกของท่อตับอ่อน

7.1.5. การรักษา

7.1.5.1. การรักษาด้วยการผ่าตัด

7.1.5.1.1. ผ่าตัดเอาถุงน้ำดีออก (cholecystectomy) ถ้ามีก้อนนิ่วอยู่ในท่อน้ำดีร่วมอาจเปิดเข้าไปในท่อน้ำดีร่วมหลังเปิดท่อน้ำดีร่วมแพทย์ระใส่ T-tube คาไว้

7.1.5.1.2. ผ่าตัดเอาถุงน้ำดีออกโดยการส่องกล้องเข้าไปตัดถุงน้ำดีออก (laparoscopic cholecystectomy) ซึ่งปัจจุบันเป็นวิธีที่นิยมทำ

7.1.5.2. การรักษาด้วยวิธีอื่น

7.1.5.2.1. Extracorporeal shock Wave lithotripsy (ESWL) ใช้ทำในผู้ป่วยบางกลุ่มโดยใช้ ultrasound เพื่อที่จะขบนิ่วด้วย shock wave และ Computerized Lithotripter

7.1.5.3. การรักษาด้วยยา

7.1.5.3.1. ยาแก้ปวด

7.1.5.3.2. ยาละลาย Cholesterol มีปฏิกิริยาลดจำนวน Cholesterol ในน้ำดี

7.1.5.3.3. ยาอื่นๆ

7.1.5.3.4. ยาสลายนิ่ว

7.1.5.4. การรักษาด้วยอาหาร

7.1.5.4.1. การควบคุมอาหาร

7.1.5.4.2. รับประทานอาหารไขมันต่ำ

7.1.5.4.3. ให้วิตามินที่ละลายในไขมัน และเกลือน้ำดี

7.1.6. ปัญหาการพยาบาล

7.1.6.1. เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังใส่ท่อระบายทางเดินน้ำดี (Laparooscopic Cholecystectomy : LC) ได้แก่ ติดเชื้อในกระแสเลือด ติดเชื้อในท่อน้ำดี สายหลุดหรืออุดตัน

7.1.6.1.1. กิจกรรมการพยาบาล

7.1.6.2. ผู้ป่วยและญาติมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการรักษาที่ได้รับเนื่องจากไม่เข้าใจวิธีการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับแผนการรักษา

7.1.6.2.1. กิจกรรมการพยาบาล

7.1.6.3. พร่องความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวก่อนเเละหลังการผ่าตัด

7.1.6.3.1. กิจกรรมการพยาบาล

7.1.6.4. ไม่สุขสบายเนื่องจากปวด

7.1.6.4.1. กิจกรรมการพยาบาล

7.1.6.5. พร่องสุขวิทยาส่วนบุคคลเนื่องจากมีข้อจำกัดด้านการเคลื่อนไหว

7.1.6.5.1. กิจกรรมการพยาบาล

7.2. ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน(Acute pancreatitis or hemorrhagic pancreatitis)

7.2.1. สาเหตุ

7.2.1.1. การอุดตันจากนิ่วในท่อทางเดินน้ำดี

7.2.1.2. เซลล์ตับอ่อนได้รับบาดเจ็บจากการใช้ยา การขาดเลือดไปเลี้ยง การติดเชื้อไวรัส

7.2.1.3. การขนส่งภายในเซลล์ผิดปกติ จากการที่ท่อน้ำดีอุดตัน

7.2.2. อาการและอาการเเสดง

7.2.2.1. ปวดท้องบริเวณลิ้นปี่ (epigastrium) หรือบริเวณส่วนบนทางซ้ายของท้อง ตั้งแต่เล็กน้อยจนถึงรุนแรงมาก อาจปวดร้าวไปที่หลัง

7.2.2.1.1. สาเหตุ

7.2.2.2. มีไข้ และเม็ดเลือดขาวในเลือดสูง (leukocytosis)

7.2.2.3. คลื่นไส้ อาเจียน ซึ่งได้บ่อย

7.2.2.3.1. สาเหตุ

7.2.2.4. ความดันโลหิตต่ำ และช็อค

7.2.2.4.1. สาเหตุ

7.2.2.5. อาจพบการเต้นของหัวใจเร็วผิดปกติหรือภาวะขาดออกซิเจน

7.2.2.5.1. เนื่องมาจาก

7.2.2.6. น้ำตาลในเลือดสูง (hyperglycemia)

7.2.2.6.1. เนื่องมาจาก

7.2.2.7. ระดับเอ็นไซม์ amylase เเละ lipaseในซีรัมจะเพิ่มขึ้น

7.2.3. การตรวจวินิจฉัย

7.2.3.1. ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

7.2.3.1.1. ผลการตรวจเลือด

7.2.4. ภาวะเเเทรกซ้อน

7.2.4.1. เกิดการคั่งของของเหลวรอบตับอ่อน (acute peripancreatic fluid collection)

7.2.4.2. เกิดซิสต์เทียมของตับอ่อน (pancreatic pseudocyst)

7.2.4.3. เกิดเนื้อตายของตับอ่อนในระยะเฉียบพลัน (acute necrotic collection)

7.2.4.4. เกิดเนื้อตายของตับอ่อนที่มีผนังล้อมรอบ (walledoff necrosis)

7.2.5. การรักษา

7.2.5.1. การรักษาภาวะตับอ่อนอักเสบเฉียบพลันชนิดไม่รุนแรง

7.2.5.1.1. รักษาแบบประคับประคอง

7.2.5.2. การให้สารน้ำ

7.2.5.2.1. ภายใน 24 ชม. แรกผู้ป่วยควรได้รับสารน้ำอย่างน้อย 4,000 มล.

7.2.5.3. การทำ ERCP

7.2.5.3.1. ควรได้รับการทำ ERCP อย่างเร่งด่วนภายใน 72 ชั่วโมงหลังจากมีอาการ

7.2.5.4. ตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ตับอ่อน

7.2.5.4.1. เพื่อวินิจฉัยภาวะเนื้อตายของตับอ่อน (pancreatic necrosis)

7.2.5.5. การให้ยาปฏิชีวนะ

7.2.5.5.1. เพื่อป้องกันการติดเชื้อ (prophylaxis)

7.2.5.6. การผ่าตัด

7.2.5.6.1. จะทำให้กลุ่มที่มีภาวะเนื้อตายของตับอ่อน

7.2.6. ปัญหาการพยาบาล

7.2.6.1. มีภาวะเสียสมดุลโภชนาการเนื่องจากรับประทานอาหารได้น้อย และการย่อยสารอาหารไม่สมบูรณ์

7.2.6.1.1. กิจกรรมการพยาบาล

7.2.6.2. ไม่สุขสบายเนื่องจากมีไข้ (Fever)

7.2.6.2.1. กิจกรรมการพยาบาล

7.2.6.3. ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดท้อง

7.2.6.3.1. กิจกรรมการพยาบาล

7.2.6.4. ปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องเนื่องจากขาดความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเอง

7.2.6.4.1. กิจกรรมการพยาบาล

7.2.6.5. เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากภาวะแทรกซ้อน

7.2.6.5.1. กิจกรรมการพยาบาล

7.3. ถุงน้ำดีอักเสบ( Acute cholecystitis)

7.3.1. สาเหตุ

7.3.1.1. เกิดจากนิ่วในถุงน้ำดีทําให้เกิดการอุดตันน้ำดีไหลลงสู่ commonbileductไม่ได้ จึงคั่งค้างในถุงน้ําดี

7.3.1.1.1. นิ่วมี 3 ชนิด

7.3.1.2. การอักเสบติดเชื้อแบคทีเรียของถุงน้ำดี

7.3.1.3. สาเหตุอื่น

7.3.1.3.1. อุบัติเหตุจากการกระทบกระแทก

7.3.1.3.2. ไฟไหม้น้ำ หรือ ร้อนลวก

7.3.2. อาการและอาการแสดง

7.3.2.1. เจ็บปวดลึก ๆ ใต้ชายโครงขวาอาจร่วมกับกดเจ็บ (ตำแหน่งของถุงน้ำดี) ทันทีโดยเฉพาะเวลาหายใจเข้าหรืออาจร้าวไปไหล่ขวา

7.3.2.2. มีไข้ต่ำและมักมีหนาวสั่นแต่บางคนอาจมีไข้สูง

7.3.2.3. คลื่นไส้อาเจียนแน่นท้องท้องเฟ้อ

7.3.2.4. เมื่อเป็นมากอาจมีตาตัวเหลือง (โรคดีซ่าน)

7.3.3. การตรวจวินิจฉัย

7.3.3.1. การซักประวัติและการตรวจร่างกาย

7.3.3.1.1. มีอาการปวดขึ้นทันที และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆสม่ำเสมอ

7.3.3.1.2. คลื่นไส้ อาเจียน ไข้สูง กดเจ็บบริเวณชายโครงขวา ลิ้นปี่

7.3.3.1.3. ปวดร้าวไปใต้สะบักขวา หากมีอาการอักเสบอุณหภูมิจะสูงขึ้น

7.3.3.2. ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

7.3.3.2.1. ผลการตรวจเลือด

7.3.3.2.2. ผลการตรวจUltrasonography

7.3.4. ภาวะแทรกซ้อน

7.3.4.1. ชนิดเฉียบพลัน

7.3.4.1.1. ถุงน้ำดีทะลุ (Gallbladder perforation)

7.3.4.1.2. มีหนองในถุงน้ำดี (Empyema of gallbladder)

7.3.4.1.3. ถุงน้ำดีเป็นเนื้อตายเน่า (Gangrene of gallbladder)

7.3.4.1.4. เยื่อบุช่องท้องอักเสบ (Peritonitis)

7.3.4.1.5. ท่อน้ำดีอักเสบ (Ascending cholangitis)

7.3.4.2. ชนิดเรื้อรัง

7.3.4.2.1. เกิดนิ่วในท่อน้ำ (Choledocholithiasis)

7.3.4.2.2. ตับอ่อนอักเสบ (Pancreatitis)

7.3.4.2.3. อาจมีโอกาสทำให้เป็นมะเร็งของถุงน้ำดี (Gallbladder cancer)

7.3.5. การรักษา

7.3.5.1. ไปพบแพทย์ เมื่อมีอาการดังกล่าวหรือคล้ายคลึงกับอาการดังกล่าว

7.3.5.2. การให้ยาปฏิชีวนะ เพื่อรักษาการติดเชื้อ

7.3.5.3. การรักษาประคับประคองตามอาการ เช่น การให้งดน้ำงดอาหารเพื่อให้ถุงน้ำดีได้พักในระยะที่มีอาการปวดมาก

7.3.5.4. การผ่าตัดถุงน้ำดีออกไป (Cholecystectomy) เป็นการรักษาโดยตรงที่แก้ปัญหาได้อย่างถาวร เพราะถ้าหากไม่ผ่าตัด การอักเสบมักย้อนกลับมาเป็นซ้ำได้อีก

7.3.5.4.1. การผ่าตัดถุงน้ำดีแบบเปิดหน้าท้อง (Open cholecystectomy)

7.3.5.4.2. การผ่าตัดถุงน้ำดีโดยการส่องกล้อง (Laparoscopic cholecystectomy)

7.3.5.5. การส่องกล้องตรวจรักษาท่อทางเดินน้ำดีและตับอ่อน (Endoscopic retrograde cholangiopancreatography – ERCP)

7.3.5.5.1. เพื่อคล้องเอานิ่วที่อยู่ในท่อน้ำดีออกมา

7.3.6. ปัญหาการพยาบาล

7.3.6.1. มีแนวโน้มความบกพร่องของสารน้ำเกลือแร่ เนื่องจากมีการอาเจียน และมีการระบายออกทางสายยางต่อจากจมูกสู่กระเพาะอาหาร

7.3.6.1.1. กิจกรรมการพยาบาล

7.3.6.2. มีความเจ็บปวด เนื่องจากมีการกระตุ้นของประสาทร่วมกับมีการอุดตันทางเดินนํ้าดีและมีการติดเชื้อ

7.3.6.2.1. กิจกรรมการพยาบาล

7.3.6.3. มีแนวโน้มได้รับภยันตรายจากการรักษา โดยใช้เครื่องมือพิเศษเปิดทางเดินน้ำดี โดยไม่ผ่าตัด

7.3.6.3.1. กิจกรรมการพยาบาล

7.3.6.4. มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด เช่น ปวดอักเสบจากการเจ็บ ปวด เจ็บปวดของแผล และการจำกัดการเคลื่อนไหวมีการรั่วซึมของทางน้ำดี

7.3.6.4.1. กิจกรรมการพยาบาล

7.3.6.5. มีการเปลี่ยนแปลงด้านโภชนาการได้รับสารน้ำและอาหารน้อยกว่าที่ร่างกายต้องการ เนื่องจากได้รับไม่เพียงพอร่วมกับภาวะเบื่ออาหาร คลื่นไส้ และอาเจียน งดอาหารหลังผ่าตัด

7.3.6.5.1. กิจกรรมการพยาบาล

7.3.6.6. ขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน การมาตรวจตามนัด เหตุผล ผู้ป่วยถุงน้ำดีอักเสบและผู้ป่วยนิ่วน้ำดี มีโอกาสที่จะกลับเป็นขึ้นมาใหม่ได้ ถ้าการปฏิบัติตัวไม่ถูกต้อง และผู้ป่วยบางคนหลังผ่าตัดทำการตัดถุงน้ำดี 5 – 7 วัน แพทย์ให้กลับบ้าน และนัดมาเอาท่อออกภายหลัง

7.3.6.6.1. กิจกรรมการพยาบาล