ปฏิบัติการเคมีทั่วไป2 เรื่องค่าคงที่ผลคูณการละลายและความสามารถในการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์

马上开始. 它是免费的哦
注册 使用您的电邮地址
ปฏิบัติการเคมีทั่วไป2 เรื่องค่าคงที่ผลคูณการละลายและความสามารถในการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ 作者: Mind Map: ปฏิบัติการเคมีทั่วไป2 เรื่องค่าคงที่ผลคูณการละลายและความสามารถในการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์

1. บทนำ

1.1. ค่าKspในสารละลายของเกลือที่ละลายน้ำได้น้อยมีค่าเท่ากับผลคูณของความเข้มข้นของไอออน แต่ละชนิดยกกำลังด้วยสัมประสิทธิ์จำนวนโมลของไอออนนั้น และการละลายของเกลือจะลดลงถ้าเพิ่มความเข้มข้นของไอออนบวกและไอออนลบที่เรียกว่าไอออนร่วมลงไป เพราะจะทำให้สมดุลของการละลายเกิดการเปลี่ยนแปลงย้อนกลับมาทางซ้ายมากขึ้น เป็นไปตามหลักของเลอชาเตอลิเยร์

2. สารเคมี

2.1. สารละลายอิ่มตัวของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ เตรียมโดยการละลายแคลเซียมไซด์3กรัมในน้ำ1ลิตร

2.2. สารละลายกรดเจือจางความเข้มข้น0.001โมลต่อมิตร

2.3. สารละลายฟินอล์ฟธาลีน

2.4. ผงแคลเซียมคลอไรด์

3. วัตถุประสงค์

3.1. เพื่อหาค่าคงที่ผลคูณการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์

3.2. เพื่อศึกษาอิทธิพลของไออนร่วมที่มีต่อสมดุลการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์

4. อุปกรณ์

4.1. ขวดรูปชมพู่

4.2. บิวเรต

4.3. กรวยแก้วและกระดาษกรองเบอร์1

4.4. ปิเปต ขนาด5ลูกบาศก์เซนติเมตรและ25ลูกบาศก์เซนติเมตร

4.5. บีกเกอร์ขนาด250ลูกบาศก์เซนติเมตร

4.6. กระบอกตวงขนาด10ลูกบาศก์เซนติเมตร

5. วิธีการการทดลอง

5.1. ตอนที่1 เตรียมสารละลายอิ่มตัวของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ในน้ำกลั่น

5.2. ตอนที่2 การหาความสามารถในการละลายหรือการละลายได้องแคลเซียมไฮดรอกไซด์ และความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ในการละลายอิ่มตัวแคลเซียมไฮดรอกไซด์

5.3. ตอนที่3 ผลของไอออนร่วมต่อค่าคงที่ต่อการละลาย