การศึกษาในรัชกาลที่ 6

马上开始. 它是免费的哦
注册 使用您的电邮地址
การศึกษาในรัชกาลที่ 6 作者: Mind Map: การศึกษาในรัชกาลที่ 6

1. พระบรมราโชวาท

1.1. "การที่จะนำบ้านเมืองไปสู่ความเจริญทัดเทียมกับนานาอารยประเทศได้นั้นการให้การศึกษาแก่พสกนิกรนั้นเป็นสิ่งจำเป็นเร่งด่วนซึ่งจะต้องเร่งทำเป็นประการแรก"

2. โครงการศึกษา 2456

2.1. จุดมุ่งหมาย

2.1.1. เป็นการศึกษาที่มุ่งฝึกคนให้รับ ราชการส่วนหนึ่งและอีกส่วนหนึ่งมุ่งให้มีความรอบรู้ในการทำมาหากินเลี้ยงชีพตามสมควรแบ่งเป็นการศึกษาภาคบังคับและภาคพิเศษโดยประถม 1-3 เป็นการศึกษาภาคบังคับและ 4-5 เป็นวิสามัญศึกษา

2.2. แบ่งเป็น 2 สาย

2.2.1. สายสามัญคือการให้ความรู้ทั่วโลกไป ที่ทุกคนควรเรียนรู้รู้แบ่งเป็น 2 ระดับ

2.2.1.1. 1. ประถมศึกษาหลักสูตร 3 ปี (ต่อม. ต้นหรือต่อประถมวิสามัญ)

2.2.1.2. 2. ชั้นอาวุโสมี 8 ชั้นเป็นชั้นกลางปีที่ 1-3 เรียกว่าชั้นมัธยมตอนต้นชั้นมัธยมปีที่ 4-6 เรียกว่าชั้นมัธยมตอนกลางและชั้นมัธยมปีที่ 7-8 เรียกว่าชั้นมัธยมตอนปลาย

2.2.2. คือการศึกษาวิสามัญผู้มีความสามารถพิเศษเรียนรู้ที่ คุณเลือกเรียนได้ตามความ ต้องการ

2.2.2.1. ประถมศึกษา

2.2.2.2. อุดมศึกษาแบ่งเป็น - วิสามัญชั้นต่ำ - วิสามัญชั้นสูง

2.2.2.2.1. ช้นมัธยมปีที่ 6 สายสามัญจะแยกไปเรียนวิสามัญชั้นต่ำสุดได้

2.2.2.2.2. ผู้ที่เรียนจบชั้นมัธยมปีที่ 8 สายสามัญจะแยกไปเรียนวิสามัญชั้นสูงและมหาวิทยาลัยได้

3. โครงการศึกษา 2458

3.1. เป็นเอกสารเพิ่มเติมของโครงการศึกษา 2456 โดยการเพิ่มชั้นวิสามัญศึกษาในระดับกลาง โดยแบ่งออกเป็น 3 ชั้นคือชั้นต่ำกลางและชั้นสูง

4. โครงการศึกษา 2464

4.1. - ต้องการจะแก้ไขความนิยมอาชีพเสมียนของ พลเมืองโดยได้จัดทำคำแนะนำชี้แจงแก่ราษฎรเกี่ยวกับหนทางในการทำมาหาเลี้ยงชีพด้วยการเรียนวิชาชีพอย่างอื่น - ระดับอุดมศึกษานั้นกำหนดให้มีระดับประกาศนียบัตร ซึ่งต่ำกว่าปริญญาตรี - มีการเพิ่มเติมวิชาที่สอนให้กว้างขวางกว่าเดิม - เรียนภาษาอังกฤษเป็นวิชาบังคับในม. ต้น - ให้ความสำคัญกับวิชาชีพมากกว่าเดิม

5. สรุป

5.1. ในหลวงรัชกาลที่ 6 ต้องการให้ผู้เรียนหันมาเรียนด้านวิชาชีพมากขึ้น

5.2. การจัดการศึกษาบางส่วนคล้ายคลึงกับปัจจุบัน

6. New Topic