LEARNING THEORY

马上开始. 它是免费的哦
注册 使用您的电邮地址
LEARNING THEORY 作者: Mind Map: LEARNING THEORY

1. Benjamin Bloom 1913-1999

1.1. พุทธิพิสัย (Cognitive Domain)

1.1.1. ความรู้ความจำ

1.1.1.1. ความสามารถในการเก็บรักษามวลประสบการณ์ต่าง ๆ จากการที่ได้รับรู้ไว้และระลึกสิ่งนั้นได้เมื่อต้องการ

1.1.2. ความเข้าใจ

1.1.2.1. เป็นความสามารถในการจับใจความสำคัญของสื่อ และสามารถแสดงออกมาในรูปของการแปลความ ตีความ คาดคะเน

1.1.3. การนำความรู้ไปใช้

1.1.3.1. ป็นขั้นที่ผู้เรียนสามารถนำความรู้ ประสบการณ์ไปใช้ในกาแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้

1.1.4. การวิเคราะห์

1.1.4.1. ผู้เรียนสามารถคิด หรือ แยกแยะเรื่องราวสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นส่วนย่อย เป็นองค์ประกอบที่สำคัญได้

1.1.5. การสังเคราะห์

1.1.5.1. ความสามารถในการที่ผสมผสานส่วนย่อย ๆ เข้าเป็นเรื่องราวเดียวกันอย่างมีระบบ เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ที่สมบูรณ์และดีกว่าเดิม

1.1.6. การประเมินค่า

1.1.6.1. เป็นความสามารถในการตัดสิน ตีราคา หรือ สรุปเกี่ยวกับคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ออกมาในรูปของคุณธรรมอย่างมีกฎเกณฑ์ที่เหมาะสม

1.2. จิตพิสัย (Affective Domain)

1.2.1. การรับรู้

1.2.1.1. เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นต่อปรากฏการณ์ หรือสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่ง

1.2.2. การตอบสนอง

1.2.2.1. เป็นการกระทำที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ ยินยอม และพอใจต่อสิ่งเร้านั้น

1.2.3. การเกิดค่านิยม

1.2.3.1. การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม การยอมรับนับถือในคุณค่านั้น ๆ

1.2.4. การจัดระบบ

1.2.4.1. การสร้างแนวคิด จัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัยความสัมพันธ์

1.2.5. บุคลิกภาพ

1.2.5.1. การนำค่านิยมที่ยึดถือมาแสดงพฤติกรรมที่เป็นนิสัยประจำตัว ให้ประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงามพฤติกรรมด้านนี้ จะเกี่ยวกับความรู้สึกและจิตใจ ซึ่งจะเริ่มจากการได้รับรู้จากสิ่งแวดล้อม แล้วจึงเกิดปฏิกิริยาโต้ตอบ ขยายกลายเป็นความรู้สึกด้านต่าง ๆ

1.3. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)

1.3.1. การรับรู้

1.3.1.1. เป็นการให้ผู้เรียนได้รับรู้หลักการปฏิบัติที่ถูกต้อง

1.3.2. กระทำตามแบบ หรือ เครื่องชี้แนะ

1.3.2.1. เป็นพฤติกรรมที่ผู้เรียนพยายามฝึกตามแบบที่ตนสนใจและพยายามทำซ้ำ

1.3.3. การหาความถูกต้อง

1.3.3.1. พฤติกรรมสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องชี้แนะ เมื่อได้กระทำซ้ำแล้ว

1.3.4. การกระทำอย่างต่อเนื่อง

1.3.4.1. หลังจากตัดสินใจเลือกรูปแบบที่เป็นของตัวเองจะกระทำตามรูปแบบนั้นอย่างต่อเนื่อง จนปฏิบัติงานที่ยุ่งยากซับซ้อนได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง คล่องแคล่ว

1.3.5. การกระทำได้อย่างเป็นธรรมชาติ

1.3.5.1. พฤติกรรมที่ได้จากการฝึกอย่างต่อเนื่อง จนสามารถปฏิบัตืได้คล่องแคล่วโดยอัติโนมัติ เป็นไปอย่างธรรมชาติ

2. Edward Thorndike

2.1. ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่องโยง

2.1.1. การถ่ายโอนการเรียนรู้ (Transfer of Learning)

2.1.2. กฎแห่งความพอใจ (Rules of Satisfaction)

2.1.3. กฏแห่งการฝึกหัด

2.1.3.1. 1.กฎแห่งการได้ใช้ (Law of Use)

2.1.3.2. 2.กฎแห่งการไม่ได้ใช้ (Law of Disuse)

2.1.4. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness)

3. Jean Piaget (1896 - 1980)

3.1. พัฒนาการทางสติปัญญาของบุคคล

3.1.1. ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (ตั้งแต่เกิด - 2 ปี)

3.1.2. ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด ( 2 - 7 ปี)

3.1.2.1. ขั้นก่อนเกิดสังกัปเป็นขั้นพัฒนาการของเด็ก 2 - 4 ปี

3.1.2.2. ขั้นการคิดแบบญาณหยั่งรู้ 4 - 7 ปี

3.1.3. ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม 7 - 11 ปี

3.1.4. ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม 11 - 15 ปี

3.2. ประสบการณ์สำคัญที่เด็กควรได้รับการส่งเสริม

3.2.1. ขั้นความรู้แตกต่าง

3.2.2. ขั้นรู้สิ่งตรงกันข้าม

3.2.3. ขั้นรู้หลายระดับ

3.2.4. ขั้นความเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อง

3.2.5. ขั้นรู้ผลของการกระทำ

3.2.6. ขั้นการทดแทนอย่างลงตัว

3.3. กระบวนการทางสติปัญญา

3.3.1. การซึมซับหรือการดูดซึม

3.3.2. การปรับและจัดระบบ

3.3.3. เกิดความสมดุล

4. Sigmund Freud (1856-1939)

4.1. จิตวิเคราะห์

4.1.1. 1.จิตสำนึก (Conscious)

4.1.2. 2.จิตก่อนสำนึก (Pre-Conscious)

4.1.3. 3.จิตไร้สำนึก (UnConscious)

4.2. สัญชาตญานแต่กำเนิด

4.2.1. สัญชาติญาณเพื่อการดำรงชีวิต (Life Instinct)

4.2.2. สัญชาติญาณเพื่อความตาย (Death Instinct)

4.3. Libido พลังงานที่ทำให้คนเราอยากมีชิตอยู่ เพื่อจุดเป้าหมายคือความสุขและความพึงพอใจ

4.3.1. ขั้นปาก (Oral Stage) (ช่วงแรกเกิด - 18 เดือน)

4.3.1.1. ความพึงพอใจอยู่ที่ปาก

4.3.2. ขั้นทวารหนัก (Anal Stage) (18 เดือน - 3ปี)

4.3.2.1. ความพึงพอใจจากการขับถ่าย

4.3.3. ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic Stage) (3ปี - 5ปี)

4.3.3.1. ความพึงพอใจอยู่ที่อวัยวะเพศ

4.3.4. ขั้นแฝง (Latency Stage) (6ปี - 12ปี)

4.3.4.1. เป็นระยะที่เด็กมีความต้องการทางเพศสงบลง

4.3.5. ขั้นสนใจเพศตรงข้าม (Genital Stage) (12ปี ขึ้นไป)

4.3.5.1. สนใจเพศตรงข้าม

5. EDGAR DALE (1900 - 1985)

5.1. "กรวยประสบการณ์” (Cone of Experience)

5.1.1. ขั้นที่ 1 ประสบการณ์ตรง

5.1.1.1. เล่นกีฬา ทำอาหาร ปลูกพืชผัก หรือเลี้ยงสัตว์ ฯลฯ

5.1.2. ขั้นที่ 2 ประสบการณ์จำลอง

5.1.2.1. หุ่นจำลอง ของตัวอย่าง การแสดงเหตุการณ์จำลอง ทางดาราศาสตร์ ฯลฯ

5.1.3. ขั้นที่ 3 ประสบการณ์นาฏการ

5.1.3.1. การแสดงละคร บทบาทสมมุติ ฯลฯ

5.1.4. ขั้นที่ 4 การสาธิต

5.1.4.1. การสาธิต การผายปอด การสาธิตการเล่นของครูพละ

5.1.5. ขั้นที่ 5 การศึกษานอกสถานที่

5.1.5.1. ทัศนศึกษานอกสถานที่ โบราณสถาน โรงงาน สถานที่สำคัญต่างๆ ฯลฯ

5.1.6. ขั้นที่ 6 นิทรรศการ

5.1.6.1. ของจริง หุ่นจำลอง วัสดุสาธิต แผนภูมิ ภาพยนตร์ ฯลฯ

5.1.7. ขั้นที่ 7 ภาพยนตร์ /โทรทัศน์

5.1.7.1. รายการทีวี ภาพยนต์ สารคดี ซีรี่ย์

5.1.8. ขั้นที่ 8 ภาพนิ่ง/การบันทึกเสียง

5.1.8.1. ภาพนิ่ง เสียงบันทึก เพลง ภาพฉายจากสื่อหรือโปรเจคเตอร์

5.1.9. ขั้นที่ 9 ทัศนสัญลักษณ์

5.1.9.1. แผนภูมิ ภาพโฆษณา การ์ตูน แผนที่สัญลักษณ์ต่างๆ ฯลฯ

5.1.10. ขั้นที่ 10 วจนสัญลักษณ์

5.1.10.1. หนังสือ เอกสาร แผ่นปลิว แผ่นพับ ที่ใช้ตัวอักษร ตัวเลข แทนความหมายของสิ่งต่างๆ

6. B.F. Skinner 1904-1990

6.1. Skinner Box

6.1.1. 1.ปล่อยหนูที่กำลังหิวไว้ในกล่อง

6.1.2. 2.หนูจะวิ่งไปรอบๆเพื่อหาทางออกหรือหาอาหาร จนกดปุ่มให้อาหาร ทำให้มันได้กินอาหาร

6.1.3. 3.ทำให้มันหิวอีกครั้งและนำมันใส่ในกล่องเดิม มันจะกดปุ่มให้อาหารทันที แสดงว่าหนูเกิดการเรียนรู้

6.2. กฏการเสริมแรง

6.2.1. ตารางกำหนดการเสริมแรง

6.2.2. อัตราการตอบสนอง

6.3. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ Type S มีสิ่งเร้าเป็นตัวกำหนด

6.4. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ Type R ขึ้นอยู่กับการเสริมแรง ซึ่งมี2วิธี

6.4.1. 1.ตัวเสริมแรงทางบวก สิ่งเร้าที่ทำให้อัตราการตอบสนองเพิ่มมากขึ้น เช่น คำชม อาหารหรือรางวัล

6.4.2. 2.ตัวเสริมแรงงทางลบ สิ่งเร้าที่ทำให้อัตราการตอบสนองเพิ่มขึ้นในทางลบ ตัวเสริมแรงทางลบ