พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535

马上开始. 它是免费的哦
注册 使用您的电邮地址
พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 作者: Mind Map: พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535

1. บทกำหนดโทษ

1.1. จำคุก

1.1.1. มากกว่า5ปี

1.1.1.1. บุกรุกครอบครองพื้นที่รัฐ

1.1.2. มากกว่า1ปี

1.1.2.1. แพร่ข่าวเท็จ

1.1.2.2. ทำรายงานเท็จ

1.1.2.3. รับจ้างบำบัดน้ำเสีย

1.1.2.4. ไม่ปฏิบัติตาม

1.1.3. มากกว่า1เดือน

1.1.3.1. จ้างให้บริการบำบัดน้ำเสีย

1.2. ปรับ

1.2.1. มากกว่า5แสนบาท

1.2.1.1. บุกรุกครอบครองที่ดินรัฐ

1.2.2. มากกว่า1หมื่นบาท

1.2.2.1. จ้างให้บริการบำบัดน้ำเสีย

1.2.3. มากกว่า1พันบาท

1.2.3.1. ฝ่าฝืนใช้ยานพาหนะต้องห้าม

1.3. ทั้งจำทั้งปรับ

2. มาตรการส่งเสริม

2.1. ขอรับความช่วยเหลือจากรัฐบาล

2.1.1. ขอความช่วยเหลือด้านการนำเข้า

2.1.1.1. เครื่องจักร

2.1.1.2. อุปกรณ์

2.1.1.3. เครื่องมือ

2.1.2. ขออนุญาตนำผู้เชี่ยวชาญมาจากต่างประเทศ

2.1.2.1. ติดตั้ง

2.1.2.2. ควบคุม

2.1.2.3. ดำเนินงาน

3. คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ

3.1. คณะกรรมการ

3.1.1. นายกรัฐมนตรี

3.1.2. รองนายกัฐมนตรี

3.1.3. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง

3.1.4. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

3.1.5. เลขาธิการส่งเสริมการลงทุน

3.1.6. ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ

3.2. หน้าที่

3.2.1. เสนอนโยบาย

3.2.2. กำหนดมาตรฐาน

3.2.3. พิจารณาให้ความเห็นชอบ

3.2.4. เสนอแนะให้คำแนะนำ

4. การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม

4.1. มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม

4.1.1. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม

4.1.2. กำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม

4.1.2.1. น้ำ

4.1.2.1.1. แม่น้ำ

4.1.2.1.2. บึง

4.1.2.1.3. คลอง

4.1.2.1.4. ทะเลสาบ

4.1.2.1.5. น้ำทะเล

4.1.2.1.6. น้ำบาดาล

4.1.2.2. อากาศ

4.1.2.3. ระดับเสียง ความสั่นสะเทือน

4.2. การวางแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม

4.2.1. แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม

4.2.2. การควบคุมมลพิษจากแหล่งกำเนิด

4.2.3. การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ

4.2.4. การประเมินงบประมาณ

4.2.5. การจัดองค์กรและระเบียบการบริหาร

4.3. เขตอนุรักษ์และพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม

4.3.1. ตามแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม

4.3.2. เขตอนุรักษ์และรักษาพันธุ์สัตว์ป่า

4.3.3. เขตอุทยานแห่งชาติ

4.3.4. พื้นที่ต้นน้ำ

4.3.5. กำหนดมาตรการ

4.3.5.1. การใช้ประโยชน์ที่ดิน

4.3.5.2. ห้ามทำกิจกรรมที่เป็นอันตรายต่อระบบนิเวศน์

4.3.5.3. กำหนดประเภทและขนาดโครงการ

4.3.5.4. กำหนดหน้าที่รับผิดชอบของส่วนราชการ

4.4. ทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม

4.4.1. เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม

4.4.2. เสนอรายงานการวิเคราะห์ต่อเจ้าหน้าที่

4.4.3. จัดทำรายงานการวิเคราะห์

5. ความรับผิดทางแพ่ง

5.1. การจ่ายค่าสินไหมทดแทน

5.1.1. การรั่วไหลของมลพิษ

5.1.2. การแพร่กระจายของมลพิษ

5.1.3. ผู้อื่นอื่นได้รับความเสียหาย

5.1.4. ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่ชีวิตหรือสุขภาพ

5.1.5. ทรัพย์สินของผู้อื่นหรือของรัฐเสียหาย

5.2. ยกเว้น

5.2.1. เหตุสุดวิสัยหรือสงคราม

5.2.2. การกระทำตามคำสั่งของรัฐบาล

5.2.3. การกระทำของผู้ที่ได้รับอันตราย

6. กองทุนสิ่งแวดล้อม

6.1. การใช้จ่าย

6.1.1. บำรุงรักษาระบบบำบัดน้ำเสียรวมหรือกำจัดของเสียรวม

6.1.2. ให้กู้ยืมเพื่อจัดให้มีระบบบำบัดหรือกำจัดของเสีย

6.1.2.1. ราชการหรือรัฐวิสาหกิจ

6.1.2.2. เอกชน

6.1.3. ช่วยเหลือกิจการใดๆที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม

6.1.4. ค่าใช้จ่ายบริการกองทุน

6.2. คณะกรรมการกองทุน

6.2.1. หน้าที่

6.2.1.1. พิจารณาจดสรรเงิน

6.2.1.2. กำหนดหลักเกณฑ์หรือระเบียบ

6.2.1.3. ทำรายงายรายรับรายจ่าย

6.2.2. คณะกรรมการ

6.2.2.1. ประธาน

6.2.2.1.1. ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

6.2.2.2. กรรมการ

6.2.2.2.1. แต่งตั้งโดยคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ

6.2.2.3. เลขาธิการ

6.2.2.3.1. เลขาธิการสำนักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม

6.3. เงิน

6.3.1. เงินจากกองทุน น้ำมันเชื้อเพลิง

6.3.2. เงินหมุเวียนเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อม

6.3.3. เงินค่าบริการและค่าปรับตามพ.ร.บ.

6.3.4. เงินอุดหนุนจากรัฐบาล

7. การควบคุมมลพิษ

7.1. คณะกรรมการควบคุมมลพิษ

7.1.1. หน้าที่

7.1.1.1. เสนอแผนปฏิบัติการ

7.1.1.2. เสนอความเห็น

7.1.1.3. ให้คำแนะนำ

7.1.1.4. ประสานงาน

7.1.1.4.1. ราชการ

7.1.1.4.2. รัฐวิสาหกิจ

7.1.1.4.3. เอกชน

7.1.1.5. ทำรายงานสถานการณ์มลพิษ

7.1.1.6. พิจารณา วินิจฉัย คัดค้านคำสั่งเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ

7.2. มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแห่งกำเนิด

7.2.1. การระบายน้ำทิ้ง

7.2.2. การปล่อยของเสีย

7.2.3. การปล่อยมลพิษ

7.2.4. การปล่อยอากาศเสีย

7.3. เขตควบคุมมลพิษ

7.3.1. ห้องที่มีปัญหามลพิษร้ายแรง

7.4. มลพิษ

7.4.1. ทางอากาศและเสียง

7.4.1.1. ควบคุบการปล่อยมลษของยานพาหนะ

7.4.2. ทางน้ำ

7.4.2.1. ควบคุมการปล่อยของเสียลงแหล่งน้ำ

7.4.3. มลพิษอื่นและของเสียอันตราย

7.4.3.1. ควบคุมพิษจากขยะ

7.4.3.2. การทำเหมือง

7.4.3.3. การสำรวจ ขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ

7.4.3.4. สารไฮโดรเจนคาร์บอน

7.5. การตรวจสอบและควบคุม

7.5.1. ผู้ครอบครองแหล่งกำเนิดมลพิษ

7.5.1.1. เก็บสถิติส่งพนักงานท้องถิ่น

7.6. ค่าบริการและค่าปรับ

7.6.1. ค่าปรับ

7.6.1.1. ลักลอบปล่อยของเสีย

7.6.2. ค่าบริการ

7.6.2.1. บำบัดของเสีย

7.6.2.2. กำจัดของเสีย