Protista Kingdom

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Protista Kingdom by Mind Map: Protista Kingdom

1. - เป็นกลุ่มที่มีความหลากหลายมาก เช่น Amoeba - ส่วนมากเป็นผู้บริโภค - บางชนิดเป็นผู้ย่อยสลาย (Detritus)

2. - เป็นสาหร่ายที่มีสารสีชนิดเดียวกับที่พบในสาหร่ายสีน้ำตาล - เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มีผนังเซลล์ประกอบด้วย Silica - ส่วนมากมักสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ - พบมากในแหล่งน้ำจืดและน้ำเค็ม เป็นแหล่งอาหารที่สำคัญของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ - ซากไดอะตอมที่ตายทับถมกันนาน ๆ เป็น diatomaceous earth เป็นแหล่งรวมของแร่ธาตุและน้ำมัน ซึ่งนำมาใช้ประโยชน์ในการทำ ไส้กรองและยาขัดต่าง ๆ

3. ต้นกำเนิด

3.1. การจัดแบ่งสิ่งมีชีวิตออกเป็น 2 อาณาจักร

3.1.1. คือ อาณาจักรพืชและอาณาจักรสัตว์นั้นเกิดปัญหาที่สำคัญคือสิ่งมีชีวิต บางชนิดมีลักษณะทั้งพืชและสัตว์อยู่ในตัวเอง จึงทำให้นักพฤกษศาสตร์จัดไว้ในอาณาจักรพืช และนักสัตววิทยาก็จัดไว้ในอาณาจักรสัตว์ ซึ่งมันไม่น่าจะเป็นไปได้ที่สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวอยู่ทั้งสองอาณาจักร

3.1.2. Ernst Haeckel นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันจึงได้ เสนอชื่อ โปรติสตา (protista) ซึ่งหมายถึงสิ่งมีชีวิตพวกแรก ๆ ขึ้นมาใช้ จึงทำให้แยกสิ่งมีชีวิตที่ไม่มีลักษณะของพืชหรือสัตว์ อย่างชัดเจน ออกจากอาณาจักรพืชและอาณาจักรสัตว์ แล้วตั้งเป็นอาณาจักรใหม่ ชื่อ "อาณาจักรโปรติสตา"

4. ลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโปรติสตา

4.1. 1.ร่างกายประกอบด้วยโครงสร้างง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน

4.1.1. ประกอบด้วยเซลล์เดียว (unicellular) หลายเซลล์ (colony) หรือเป็นสายยาว (filament)

4.2. 2.ไม่มีระยะตัวอ่อน (Embryo)

4.3. 3.การดำรงชีพ

4.3.1. ชนิดที่เป็นผู้ผลิต (Autotroph)

4.3.2. เป็นผู้บริโภค (Consumer)

4.3.3. เป็นผู้ย่อยสลายอินทรียสาร (Decomposer)

4.4. 4.โครงสร้างเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก (Eucaryotic)

4.4.1. มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส

4.4.2. ได้แก่ โพรโทซัว เห็ด รา ยีสต์ ราเมือก สาหร่ายต่าง ๆ

4.5. 5.การเคลื่อนที่

4.5.1. บางชนิดเคลื่อนที่ได้โดยใช้ซีเลีย (cilia) or แฟลกเจลลัม (flagellum) or ซูโดโปเดียม (Pseudopodium)

4.5.2. บางชนิดเคลื่อนที่ไม่ได้

4.6. 6.การสืบพันธุ์

4.6.1. แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction)

4.6.1.1. ชนิดปฏิสนธิ (fertilization)

4.6.1.1.1. เกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ ที่มีรูปร่างและขนาดต่างกันมารวมกัน

4.6.1.2. ชนิดคอนจูเกชัน (Conjugation)

4.6.1.2.1. เกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปร่างและขนาดเหมือนกัน มารวมกัน

5. สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้แบ่งเป็น

5.1. 1. Division Diplomonadida

5.1.1. ไม่มี organlle มี nucleus 2 อัน มี flagella หลายอัน

5.2. 2. Division Parabasala

5.2.1. กลุ่มของโพรทิสต์ที่เป็นเซลล์ยูคารีโอตที่ยังไม่มี organelle คือ ไม่มี mitochondria , endoplasmic reticulum , golgi complex และ centriole

5.2.1.1. มักอยู่ในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน (Anaerobic environment)

5.2.1.1.1. ลักษณะ - มี Flagella หลายเส้น - มีเยื้อหุ้มลักษณะเป็นรอยหยักคล้ายคลื่น

5.2.2. กลุ่มของโพรทิสต์ที่เป็นเซลล์ยูคารีโอตที่ยังไม่มี organelle คือ ไม่มี mitochondria , endoplasmic reticulum , golgi complex และ centriole

5.2.2.1. มักอยู่ในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน (Anaerobic environment)

5.2.2.1.1. ลักษณะ - มีนิวเคลียส 2 อันขนาดเท่ากัน - มี Flagella หลายเส้น

5.3. 3. Division Kinetoplastida

5.3.1. เป็นโพรทิสต์กลุ่มที่เคลื่อนที่โดยใช้ Flagellaซึ่งประกอบด้วย Microtubule เรียงกัยแบบ 9+2 มีทั้งที่เป็นผู้ผลิตผู้บริโภคและปรสิต

5.3.2. - เป็น Phytoplakton ทั้งในน้ำจืดและน้ำทะเล - ส่วนใหญ่อยู่เป็นเซลล์เดียว มีบ้างที่อาศัยอยู่รวมกันเป็น colony - ลักษณะสำคัญคือ มีแผ่น Cellulose อยู่ภายใน ประกอบกันคล้ายเกราะ มีลวดลายสวยงามและมี Flagellum 2 เส้น - บางชนิดมีการสะสมสารพิษ ทำให้ทะเลมีสีแดง เกิดปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ (red tide) ซึ่งเป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำเป็นจำนวนมาก - บางชนิดอาศัยร่วมกับปะการัง โดยนำ CO2 จากปะการังมาสังเคราะห์ด้วยแสง

5.4. 4. Division Euglenophyta

5.4.1. ลักษณะ

5.4.1.1. - มี Chlorplast สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ จึงดำรงชีพเป็นผู้ผลิตเมื่อมีแสง - เก็บอาหารที่สร้างได้ใน Paramylon granules - เมื่อไม่มีแสงก็ดำรงชีพเป็นผู้บริโภค - มีอายสปอต (eye spot) ในการตอยสนองต่อแสง

5.5. 5. Division Dinoflagellata

5.5.1. ลักษณะ

5.5.1.1. มี 2 flagellum เกิดปรากฎการณ์ red tide

5.6. 6. Division Apicomplexa

5.6.1. ลักษณะ

5.6.1.1. ชื้อ Plasmodium ที่ก่อโรคในคนมี 4 ชนิด ได้แก่ - Plasmodium falciparum - Plasmodium vivax - Plasmodium malariae - Plasmodium ovale ในประเทศไทยเชื้อที่พบส่วนใหญ่เป็นชนิด P.falciparum และ P.vivax

5.6.1.1.1. - กลุ่มนี้ทุกชนิดเป็นปรสิตในสัตว์ มีโครงสร้างสำหรับแทงผ่ายเซลล์โฮสต์ - ไม่มีโครงสร้างในการเคลื่อนที่ ยกเว้นในเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ - ตัวอย่างในกลุ่มนี้ ได้แก่ พลาสโมเดียม (Plasmodium) ทำให้เกิดโรคมาลาเรียในคนและสัตว์อื่น - malaria เป็นโรคเขตร้อน มียุงก้นปล้องเป็นพาหะ

5.7. 7. Division Ciliophora

5.7.1. ลักษณะ

5.7.1.1. มี cilla ในการเคลื่อนที่

5.8. 8.Division Oomycota

5.8.1. ลักษณะ

5.8.1.1. - เรียกว่า Egg fungus : water mold, white rust, downy mildews - แตกต่างจาก Stramenopila กลุ่มอื่นๆ ตรงที่ไม่มีรงควัตถุที่ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง - มีลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ที่ประกอบด้วยหลายนิวเคลียส - ไม่ได้จัดเป็นรา - ส่วนใหญ่ดำรงชีวิตเป็นผู้ย่อยสลายในน้ำ - มีบ้างที่เป็นปรสิตในพืช เช่น white rust (ราขาวในมันฝรั่ง)

5.9. 9.Division Bacillariophyta

5.9.1. ลักษณะ

5.10. 10. Division Phaeophyta

5.10.1. ลักษณะ

5.10.1.1. เป็นสาหร่ายที่มีขนาดใหญ่ และมีโครงสร้างซับซ้อน - สาหร่ายสีน้ำตาล เรียกว่า Seaweed - เกือบทั้งหมดอาศัยอยู่ในทะเล มักอยู่ในกระแสน้ำเย็น - มีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำโดยเป็นแหล่งอาหาร ที่อาศัยและใช้ในการหลบภัย - มีสารสีน้ำตาลเรียกว่า ฟิวโคแซนทิน - เรียกโครงสร้างรวม ๆ ของสาหร่ายชนิดนี้ว่า Thallus - มีโครงสร้างคล้ายราก เรียกว่า Holdfast - โครงสร้างคล้ายลำต้น เรียกว่า Stipe - โครงสร้างคล้ายใบ เรียกว่า Blade หรือ Lamina

5.10.1.2. ตัวอย่างเช่น สาหร่ายเคลป์ ( Kelp) ซึ่งอาจมีความยาวถึง 60 เมตร สาหร่ายทุ่น ( sagassum sp.) ลามินาเรีย ( Laminaria sp.) พาไดนา ( Padina sp.) ฟิวกัส ( Fucus sp. )

5.11. 11. Division Rhodophyta

5.11.1. ลักษณะ

5.11.1.1. สาหร่ายสีแดง (red algae) มีสารสีไฟโคอีรีทิน (phycoerythrin) แคโรทีนและคลอโรฟิลล์ ต่างจากสาหร่ายกลุ่มอื่น บางชนิดไม่มีสารสี เป็นปรสิตกับสาหร่ายสีแดงชนิดอื่นๆ

5.11.1.2. สามารถดูดกลืนแสงสีน้ำเงินและเขียวในการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ดี ส่วนใหญ่จะมีหลายเซลล์ สามารถมีขนาดใหญ่เรียกว่า Seaweed ได้ในลักษณะเดียวกันกับสาหร่ายสีน้ำตาล และที่สำคัญคือ ไม่มีระยะที่มีแฟลกเจลลา

5.11.1.3. สามารถดูดกลืนแสงสีน้ำเงินและเขียวในการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ดี ส่วนใหญ่จะมีหลายเซลล์ สามารถมีขนาดใหญ่เรียกว่า Seaweed ได้ในลักษณะเดียวกันกับสาหร่ายสีน้ำตาล และที่สำคัญคือ ไม่มีระยะที่มีแฟลกเจลลา

5.12. 12. Division Chlorophyta

5.12.1. สาหร่ายสีเขียว (green algae) มีลักษณะคล้ายพืชทั้งในแง่โครงสร้าง ผนังเซลล์และส่วนประกอบของสารสี คือ คลอโรฟิลล์ เอ บีและแคโรทีน ส่วนใหญ่พบในแหล่งน้ำจืด บางชนิดอยู่ร่วมกับราเป็น lichens เกือบทุกชนิดมีระยะอาศัยเพศ โดยเซลล์สืบพันธุ์ใช้ Flagella 2 เส้นในการเคลื่อนที่

5.12.1.1. สามารถปรับตัวในที่ไม่เหมาะสมได้ เช่น หิมะ (watermelon snow) และเชื่อว่าพืชมีวิวัฒนาการมาจากสาหร่ายสีเขียว

5.12.1.1.1. ลักษณะ

5.13. 13. Division Gymnamoeba

5.14. 14. Division Myxogastrida

5.15. 15. Division Dictyostelida

5.15.1. - ลักษณะแตกต่างจาก plasmodial slime molds

5.15.1.1. -ระยะจะเป็นเซลล์เดียวไม่ได้รวมกันเป็นเซลล์ขนาดใหญ่ - ในวงชีพมีความแตกต่างกัน

5.16. 16. Division Entamoeba

5.16.1. - Entamoeba histolytica เป็นปรสิต ก่อให้เกิดโรคบิดมีตัว ผลแทรกซ้อนก่ให้เกิดฝีในตับ - Entamoeba gingivalis อาศัยแบบพึ่งพากับคนในช่องปาก เก็บเศษอาหารต่างๆ เป็นเหตุให้มีกลิ่นปาก

6. - มีขนาดใหญ่ เคลื่อนที่โดยใช้ Cilia - อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีน้ำหรือความชื้นสูง - ตัวอย่างเช่น Stentor , Paramecium , Vorticella - มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศเรียกว่า Conjugation

7. - ระยะ Plasmodium หากินโดยใช้ Pseudopodium ซึ่งมีขนาดใหญ่ได้มากเป็นเซนติเมตร เป็นหลายๆเซลล์รวมกันเป็น เซลล์ขนาดใหญ่มากมีหลายนิวเคลียส กินอาหารโดยใช้กระบวนการ Phagocytosis มักมีสารสีซึ่งมักเป็นสีส้มหรือสีเหลือง

7.1. - ระยะ Fruiting body ระยะที่มีการสืบพันธุ์โดยการแบ่งไมโอซสเพื่อสร้างสปอร์ และมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์