นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา by Mind Map: นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

1. E-Learning

1.1. ความหมาย

1.1.1. e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์

1.2. ประเภท

1.2.1. 1. สื่อเสริม (Supplementary) 2. สื่อเพิ่มเติม (Complementary) 3. สื่อหลัก (Comprehensive Replacement)

1.3. องค์ประกอบ

1.3.1. เนื้อหา

1.3.2. ระบบการสื่อสาร

1.3.3. ระบบการตัดการเวลาเรียน

1.3.4. การสอบและวัดผล

2. นวัตกรรมการศึกษา (Educational innovation)

2.1. ความหมาย

2.1.1. นวัตกรรมการศึกษาก็คือการนำเอานวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาในด้านต่างๆ เช่น การพัฒนารูปแบบสื่อการเรียนการสอน การแก้ปัญหาทางการศึกษา เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

3. การศึกษาผ่าน CD/DVD

3.1. อุปกรณ์

3.1.1. โทรทัศน์

3.1.2. CD/DVD

4. ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา

4.1. การออกแบบ (design)

4.1.1. การนำเอาความรู้ที่มีอยู่มาวางแผน จัดเป็นกระบานการในการจัดการเรียนการสอนแต่ละครั้ง

4.2. การใช้ (Unillization)

4.2.1. คือ การนำกระบานการผลิตและออกแบบ การพัฒนาสื่อในรูปแบบต่างๆที่ได้สร้างขึ้นมา มาใช้ในการเรียนการสอนจริง โดยสื่อที่นำมาใช้ต้องผ่านการตรวจสอบ วิเคราะห์ ประเมิณมาแล้วเป็นอย่างดี

4.3. การจัดการ(Management)

4.3.1. คือ การวางแผน การควบคุม การจัดการสื่อและกระบวนการใช้สื่อทางเทคโนโลยีการศึกษา ให้เป็นแบบแผน

4.4. การประเมิน (Evaluation)

4.4.1. เป็นขั้นตอนสุดท้ายในการทำงานทุกประเภท เมื่อมีการสร้างงานเกิดขึ้นเราต้องมีการประเมินหาผลสรุปจากงานที่เราสร้างขึ้น

4.5. การพัฒนา(Development)

4.5.1. คือ การเปลี่ยนแปลงและแก้ไขการออกแบบ เพื่อให้การเรียนการสอนนั้นมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

5. E-book

5.1. ความหมาย

5.1.1. คือ หนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์

5.2. ประเภท

5.2.1. -Hyper Text Markup Language (HTML) -Portable Document Format (PDF) -Peanut Markup Language (PML) -Extensive Markup Language (XML)

5.3. องค์ประกอบของ E-Book

5.3.1. 1. อักขระ (Text) หรือข้อความ

5.3.1.1. เป็นองค์ประกอบของโปรแกรมมัลติมีเดีย สามารถนำอักขระมาออกแบบเป็นส่วนหนึ่งของภาพ หรือสัญลักษณ์ กำหนดหน้าที่การเชื่อมโยงนำ เสนอเนื้อหาเสียง ภาพกราฟิก หรือวีดิทัศน์ เพื่อให้ผู้ใช้เลือกข้อมูลที่จะศึกษาการใช้อักขระเพื่อกำหนดหน้าที่ในการสื่อสารความหมายในคอมพิวเตอร์

5.3.2. 2. ภาพนิ่ง (Still Image)

5.3.2.1. เป็นภาพกราฟิก เช่น ภาพวาด ภาพถ่าย ภาพลายเส้น แผนที่แผนภูมิ ที่ได้จากการสร้างภายในด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และภาพที่ได้จากการสแกนจากแหล่งเอกสารภายนอก

5.3.3. 3. ภาพเคลื่อนไหว (Animation)

5.3.3.1. เกิดจากชุดภาพที่มีความแตกต่างนำ มาแสดงเรียงต่อเนื่องกันไป ความแตกต่างของแต่ละภาพที่นำ เสนอทำ ให้มองเห็นเป็นการเคลื่อนไหวของสิ่งต่าง ๆ ในเทคนิคเดียวกับภาพยนตร์การ์ตูน ภาพเคลื่อนไหวจะทำ ให้สามารถนำ เสนอความคิดที่ซับซ้อนหรือยุ่งยาก ให้ง่ายต่อการเข้าใจ

5.3.4. 4. เสียง (Sound)

5.3.4.1. เป็นสื่อช่วยเสริมสร้างความเข้าใจในเนื้อหาได้ดีขึ้นและทำให้คอมพิวเตอร์มีชีวิตชีวาขึ้น

5.3.5. 5. ภาพวีดิทัศน์ (Video)

5.3.5.1. ภาพวีดิทัศน์เป็นภาพเหมือนจริงที่ถูกเก็บในรูปของดิจิทัล มีลักษณะแตกต่างจากภาพเคลื่อนไหวที่ถูกสร้างขึ้นจากคอมพิวเตอร์

5.3.6. 6. การจัดเก็บข้อมูลมัลติมีเดีย

5.3.6.1. องจากมีการพัฒนาสื่อแบบมัลติมีเดียที่เป็นการพัฒนาแบบใช้หลายสื่อผสมกัน (Multimedia) และเทคโนโลยีสื่อมัลติมีเดียมีจำนวนมาก ทำให้จำเป็นต้องใช้เนื้อที่เก็บข้อมูลเป็นจำนวนมาก สื่อที่ใช้จัดเก็บต้องมีขนาดความจุมากพอที่จะรองรับข้อมูลในรูปแบบวีดิโอ รูปภาพ ข้อความ ปัจจุบันแผ่นซีดีรอม (CD-ROM :Compact Disk Read Only Memory) และแผ่นดิวีดี ( DVD ) ได้รับความนิยมแพร่หลาย สามารถเก็บข้อมูลได้สูงมาก จึงสามารถเก็บข้อมูลแฟ้มข้อมูลอื่นๆ ได้มากเท่าที่ต้องการ

5.3.7. 7. ระบบมัลติมีเดีย

5.3.7.1. - ระบบอุปกรณ์อินพุต (input device) ระบบที่สามารถนำ ข้อมูลจากระบบ analog สู่ระบบ digital โดยใช้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์

5.3.7.2. - ระบบการประมวลผลการจัดเก็บมัลติมีเดีย การใช้ซอฟท์แวร์ที่มีระบบสัมพันธ์เครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดส่วนบุคคล หรือชนิดเวิร์ค

5.3.7.3. - ระบบอุปกรณ์เอาท์พุต (output device) เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลที่ได้กับอุปกรณ์แสดงวีดิโอ เสียง หรือเครื่องพิมพ์ เช่น จอแสดง

5.3.7.4. - ระบบการสร้าง (Production) กระบวนการออกแบบเนื้อหาการเรียนรู้ (context creation) ที่อยู่ในรูปแบบข้อความ ภาพ เสียง วีดิโอ

5.3.8. 8. บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย

5.3.8.1. - ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและเนื้อหา เป็นบุคลากรที่มีความรู้ประสบการณ์ทางด้านการออกแบบและการพัฒนาหลักสูตร

5.3.8.2. - ผู้เชี่ยวด้านการสอน เป็นบุคลากรที่ทำหน้าที่ในการเสนอเนื้อหาวิชาใดวิชาหนึ่งโดยเฉพาะ

5.3.8.3. - ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อการเรียนการสอน จะช่วยทำหน้าที่ในการออกแบบและให้คำแนะนำปรึกษาทางด้านการวางแผนการ ออกแบบบทเรียน

5.3.8.4. - ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นผู้ที่ทำงานด้านคอมพิวเตอร์หรือผู้ที่เชี่ยวชาญโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สร้างบท เรียน

6. GOODBYE