ความดันโลหิตสูง

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความดันโลหิตสูง by Mind Map: ความดันโลหิตสูง

1. ซักประวัติ

1.1. อายุ <20 หรือ > 35 ปี

1.2. BMI>30

1.3. Primigravida

1.4. Previous Preeclampsia

1.5. Family history of preeclampsia

1.6. Multiple pregnancy

1.7. Molar pregnancy

1.8. มีประวัติโรคทางอายุรกรรม

1.8.1. เบาหวาน

1.8.2. ความดันโลหิต

1.8.3. ไต

1.8.4. Autoimmune

2. การพยาบาล

2.1. Mild Preeclampsia

2.1.1. ซักประวัติ,ตรวจร่างกาย

2.1.1.1. BP

2.1.1.2. Hyperreflex

2.1.1.3. อาการบวม

2.1.1.4. ตาพร่ามัว

2.1.1.5. จุกแน่นลิ้นปี่

2.1.2. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ

2.1.2.1. CBC,Plt,BUN,Cr,AST,ALT,Urine proteine

2.1.3. ให้นอนพักผ่อน

2.1.4. วัด V/S ทุก4-6ชม. ไม่ต้องให้ยาลดความดันโลหิต

2.1.5. ประเมินอายุครรภ์

2.1.6. นับลูกดิ้น

2.1.7. พิจารณายุติการตั้งครรภ์

2.1.7.1. GA >=37 wks.

2.1.7.2. Severe Preeclampsia

2.1.7.3. Fetal Distress

2.2. Severe Preeclampsia

2.2.1. ให้ IV Fluid (LRS)

2.2.2. วัด V/S ทุก 1 ชม.

2.2.3. คาสายสวนปัสสาวะ บันทึก I/O ทุก 4 ชม.

2.2.4. ให้ยากันชัก MgSO4

2.2.5. เฝ้าระวังอาการชัก

2.2.6. ให้ยาลดความดันโลหิต

2.2.6.1. SBP>=160mmHg

2.2.6.2. DBP>=110mmHg

2.2.7. ติดตาม FHR อย่างต่อเนื่อง

2.2.8. ยุติการตั้งครรภ์

2.2.8.1. GA>34wks.

2.2.8.1.1. ให้ยากันชักต่อจนครบ 24ชม.หลังคลอด/ชักครั้งสุดท้าย

2.2.8.1.2. เฝ้าระวังภาวะชัก

2.2.8.2. GA<34wks.

2.2.8.2.1. ให้ Corticosteroid

2.2.8.2.2. ติดตาม FHR อย่างต่อเนื่อง

2.2.8.2.3. หยุดให้ยากันชัก เมื่อครบ 48 ชม.

2.3. Eclampsia

2.3.1. ให้ยากันชัก

2.3.2. ให้ยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษา

2.3.3. ให้ Corticosteroid ใน GA<34wks.

2.3.4. NPO

2.3.5. CXR, CT brain

2.3.6. ยุติการตั้งครรภ์

2.3.6.1. ให้ยากันชักต่อจนครบ 24ชม.หลังคลอด/ชักครั้งสุดท้าย

2.3.6.2. เฝ้าระวังภาวะชัก

2.4. ระยะคลอด

2.4.1. Latent Phase

2.4.1.1. ให้นอนพัก

2.4.1.2. วัด BP ทุก 2-4 ชม.

2.4.1.3. ประเมินอาการ

2.4.1.3.1. ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว

2.4.1.3.2. จุกแน่นลิ้นปี่

2.4.1.4. ตรวจ Urine Proteine

2.4.1.5. ประเมิน UC และ FHR

2.4.1.6. ลดความเครียดจากการเจ็บครรภ์

2.4.1.6.1. ลูบหน้าท้อง

2.4.1.6.2. ฝึกหายใจ

2.4.2. Active Phase

2.4.2.1. ให้การพยาบาลเพิ่มเติมจาก Latent Phase

2.4.2.2. วัด BP ทุก 1 ชม. จนกระทั่งคลอด หากไม่ stable วัดทุก 15 นาที

2.4.2.3. ดูแลให้ยากันชัก ยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษา

2.4.2.4. FHR หากผิดปกติให้รายงานแพทย์

2.5. หลังคลอด

2.5.1. ดูแลให้พักผ่อนทั้งร่างกายและจิตใจ

2.5.2. วัด BPทันทีหลังคลอดทุก 15 นาที จนคงที่จึงวัดทุก 1 ชม.

3. การประเมิน

3.1. ตรวจร่างกาย

3.1.1. Systolic BP>= 140 mmHg

3.1.2. Diastolic BP>=90 mmHg

3.1.3. บวมที่หน้าและมือ

3.1.4. hyperreflexia

3.2. Lab

3.2.1. Proteineuria

3.3. อาการ

3.3.1. ปวดศีรษะ

3.3.2. ตาพร่ามัว

3.3.3. จุกแน่นลิ้นปี่

3.3.4. ชัก

4. ผลกระทบ

4.1. มารดา

4.1.1. ปัสสาวะออกน้อย ทำให้ Cr สูงขึ้น

4.1.2. LFT ผิดปกติ

4.1.3. Pulmonary edema

4.1.4. เกล็ดเลือดต่ำ ทำให้ Hemolysisง่าย

4.1.5. เลือดไปเลี้ยงมดลูกน้อยลง

4.2. ทารก

4.2.1. IUGR

4.2.2. Prematurity

4.2.3. Fetal distress

4.2.4. Placenta apruption

4.2.5. Intrauterinr fetal death

5. ยา

5.1. Hydralazin

5.1.1. onset 10-20 min

5.1.2. peak 20 min

5.1.3. IV bolus 5-10 mg

5.1.4. ผลข้างเคียง

5.1.4.1. ปวดหัว

5.1.4.2. คลื่นไส้ อาเจียน

5.1.4.3. ความดันโลหิตต่ำ

5.1.5. กลุ่ม direct-acting systemic arteriolar vasodilator

5.2. Labetalol

5.2.1. IV20mg ทุก10นาทีไม่เกิน 300mg

5.2.2. ผลข้างเคียง

5.2.2.1. ความดันโลหิตต่ำ

5.2.2.2. เวียนศีรษะ

5.2.2.3. ปวดศีรษะ

5.2.2.4. คลื่นไส้

5.2.3. กลุ่ม Adrenergic antagonist

5.3. Nifedipine

5.3.1. กลุ่ม Calcium Channel Blocker

5.3.2. กิน 10 mgทุก15-30นาที สูงสุด 3 Dose

5.3.3. ผลข้างเคียง

5.3.3.1. หัวใจเต้นเร็ว

5.3.3.2. ใจสั่น

5.3.3.3. ปวดศีรษะ

5.3.4. ห้ามให้ร่วมกับ MgSO4

5.4. Sodium Nitroprusside

5.4.1. ultra-short acting

5.4.2. onset 30 sec , peak 2 min

5.4.3. ผลข้างเคียง

5.4.3.1. ลดความดันโลหิตเร็วเกินไป ทำให้ คลื่นไส้ อาเจียน เหงื่ออกมาก

5.4.4. ขนาด 3 mcg/kg/min