การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพ ระบบปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพ ระบบปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพ ระบบปัสสาวะ

1. การพยาบาลผู้ป่วยเดก็ที่มีการติดเชื้อ ทางเดินปัสสาวะ (Urinary tract infection)

1.1. สาเหตุและพยาธิสภาพ

1.1.1. Escherichia Coli เป็นแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด นอกจากนั้น เป็น Klebsiella และ Proteusซึ่งเป็นเชื้อที่มีอยู่ตามปกติในลำไส้ใหญ่และมีอยู่ จำนวนน้อยที่บริเวณท่อปัสสาวะ (Urethra)

1.1.2. การอุดกั้นที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของกระเพาะปัสสาวะ ทำให้ปัสสาวะไหล ไม่สะดวก เช่น นิ่ว หรือสาเหตุอื่นที่ทำให้เกิด Hydronephrosis เกิดการติดเชื้อได้ ง่ายและยังทำ ให้เนื้อไตถูกทำลายอีกด้วย Vesicoureteral reflux (VUR) เป็น ความผิดปกติแต่กำเนิดที่บริเวณรูเปิดของท่อไต ส่วนที่ฝังอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ ทำให้ปัสสาวะไหลย้อนกลับขึ้นไปตามท่อไตและคั่งอยู่ที่บริเวณกรวยไต

1.2. อาการทางคลินิิก

1.2.1. เด็กเล็กอายุต่ำกว่า 2 ปี อาการไม่แน่นอนเช่น อาจมีไข้ ตัวเหลือง เลี้ยงไม่โต

1.2.2. เด็ก14 ปี อาจจะพบอาการไข้ ปัสสาวะบ่อยและ ปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะมีกลิ่นปวดท้องน้อยกดเจ็บ บริเวณชายโครงด้านหลังอาจถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด

1.3. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ

1.3.1. ตรวจปัสสาวะ ตรวจพบเม็ดเลือดขาว ปัสสาวะที่เกิดจาก Mid stream clean void ถ้าตรวจ พบเชื้อเกิด100,000 โคโลนี/มิลลลิติร ถือว่าผิดปกติ

1.3.2. ตรวจทางรังสีวิทยา เพื่อตรวจค้นหา VUR ร่วมกับUltrasonography (US)) เพื่อดู โครงสร้างของระบบปัสสาวะ

1.4. การพยาบาล

1.4.1. 1. ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ

1.4.2. 2. สังเกตภาวะแทรกซ้อน

1.4.3. 3.สอนแนะนำ ด้านสุขศึกษา

2. การพยาบาลผู้ป่วยเด็กหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เปิด (Phimosis in children)

2.1. อาการผิดปกตต่างๆ

2.1.1. มีอาการปัสสาวะลำบาก ร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ

2.1.2. มีอาการปัสสาวะลำบาก ร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ

2.1.3. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศส่วนปลายบวมแดงอักเสบอาจมีสารคัดหลั่งสีเหลือง

2.1.4. ลำปัสสาวะมีขนาดเล็กมาก หรือถ่ายปัสสาวะไม่พุ่ง

2.1.5. มีไข้ หนาวสั่น

2.2. 1.การรักษาโดยวิธีประคับประคอง ใช้ครีม steroid ทาบริเวณหนังหุ้มปลายให้หนังหุ้มปลายมี ความยืดหยุ่นดีขึ้น

2.3. การรักษาหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เปิด

2.3.1. 2.การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

2.4. ข้อบ่งชี้ในการขลิบ

2.4.1. 1.หนังหุ้มปลายไม่เปิดที่มีลักษณะของพังผืดบริเวณปลายชัดเจน

2.4.2. 2.มีการอักเสบบริเวณปลายอวัยวะเพศเป็นๆหายๆ

2.4.3. 3.ในหลายกลุ่มวัฒนธรรม ศาสนา และเชื้อชาติ

2.5. ข้อห้ามการขลิบหนังหุ้มปลาย

2.5.1. 1.เด็กที่มีความผิวปกติของอวัยวะเพศ

2.5.2. 2.ทารกแรกเกิดที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง

3. การพยาบาลผู้ป่วยเด็กกลุ่มอาการโรคไต (Nephrotic syndrome)

3.1. กลุ่มอาการที่ประกอบด้วย

3.1.1. 1.โปรตีนในปัสสาวะสูง

3.1.2. 2.โปรตีนในเลือดต่ำโดยเฉพาะอัลบูมิน

3.1.3. 3.บวมทั่วตัวชนิดกดบุ๋ม

3.1.4. 4.ไขมันในเลือดสูง

3.2. สาเหตุ

3.2.1. 1.เกิดจากความผิดปกติที่ไต

3.2.2. 2.เกิดร่วมกับโรคระบบอื่นๆ

3.3. พยาธิสรีรภาพ

3.3.1. มีความผิดปกติที่ Glomerular basement membrane โดยมีการเพิ่มpermeability ทําให้โปรตีนที่มีโมเลกุลเล็กไหลรั่วผ่านออกมา มากขึ้นส่วนใหญ่จะเป็น อัลบูมิน และอิมมูโนโกลบูลิน

3.4. อาการทางคลินิิก

3.4.1. เด็กจะมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

3.4.2. บวมรอบหนังตา และหน้าในเวลาตื่นนอนเช้าและจะหายไปในเวลาบ่าย

3.4.3. ปัสสาวะจะน้อยลงและสีเข้ม

3.4.4. ผิวหนังซีด มักจะไม่พบความดันโลหิตสูง หรืออาจสูงหรือต่ำกว่าปกติ

3.5. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ

3.5.1. ตรวจปัสสาวะ หาโปรตีนได้ใน ปัสสาวะรอบ 24 ชั่วโมงพบปริมานเกิน 2 กรัม/ตารางเมตรพื้นที่ผิวบุร่างกาย

3.5.2. ตรวจเลือดซีรั่มโปรตีนตํ่า ซีรั่มคลอเรสเตอรอลสูงประมาณ 450-1500 mg./dl.

3.6. การพยาบาล

3.6.1. 1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ

3.6.2. 2. ป้องกันการแตกของผิวหนัง

3.6.3. 3. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม

3.6.4. 4. ป้องกันHypovolemia และ Hypokalemia

3.6.5. 5. ลดการสูญเสียพลังงาน ลดการทำงานของหัวใจ

3.6.6. 6. เสริมสร้างภาวะโภชนาการและส่งเสริมการเจริญเติบโต

3.6.7. 7. ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว

4. การพยาบาลผู้ป่วยเด็กไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute glomerulonephritis)

4.1. สาเหตุ

4.1.1. การติดเชื้อจากผิวหนัง และการติด เชื้ออื่นๆในเดก็จะพบได้บ่อยคือ Acute post-streptococoal glomerulonephritis

4.2. พยาธิสรีรภาพ

4.2.1. เมื่อร่างกายมีการติดเชื้อจะมีแอนติเจนกระตุ้นให้ ร่างกายสร้างแอนติบอดีขึ้นจะเกิด Antigen-antibody complex ทำให้หลอดเลือดฝอยใน Glomerular ถูกทำลายโดยสารสำคัญสองชนิดคือ lysozyme และ Anaphylatoxin ผลที่เกิดตามมาคือการกรองของเสียและการดูดซึมกลับไม่เป็นไปตามปกติ เกิด อาการคั่งของน้ำและของเสีย

4.3. อาการทางคลินิิก

4.3.1. หลังการติดเชื้อประมาณ 7-14 วัน เด็กจะเริ่มมีอาการบวม ที่หน้า ต่อมาบวมขาและท้อง ชนิดกดไม่บุ๋มและ ปัสสาวะน้อยสีเข้ม มีอาการซีด กระสับกระส่ายและอ่อนเพลียมาก ความดันโลหิตสูงเล็กน้อยถึงสูงมาก (120/80 - 180/120 mmHg)

4.4. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ

4.4.1. ตรวจปัสสาวะพบเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว Casts อัลบูมิน ไม่พบแบคทเีรีย หรือเพาะเชื้อไม่ขึ้น

4.4.2. ตรวจเลือด : ระดับ Na+, K+ , Cl - , CO2CP ปกติหรือสูงในราย ที่มีการรุนแรง ระดับ BUN ครีเอตินิน และกรดยูริคสูง , ASO อาจสูงถึง 200 Todd units หรือมากกว่านั้นESR สูง จำนวนเม็ดเลือดขาวปกติค่าความถ่วงจำ เพาะสูง C - reactive protein (CRP) สูง

4.5. การพยาบาล

4.5.1. 1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ

4.5.2. 2. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม

4.5.3. 3. ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง (Hyperkalemia)

4.5.4. 4. ลดความดันโลหิต

4.5.5. 5. สังเกตการณ์เกิดภาวะแทรกซ้อน