การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

1. Urinary tract infection

1.1. สาเหตุ

1.1.1. โรคไต

1.1.2. โรคอื่นๆ

1.1.2.1. โรคไตจากโรคเบาหวาน

1.1.2.2. หัวใจวาย

1.1.2.3. ภาวะครรภ์เป็นพิษ

1.1.2.4. โรคติดเชื้อ

1.2. พยาธิสภาพ

1.2.1. โปรตีนรั่วออกไปในปัสสาวะจำนวนมาก ร่างกายสังเคราะห์อัลบูมินได้ไม่เร็วพอ เกิดภาวะอัลบูมินในเลือดตํ่าลง เป็นผลให้แรงดึงดูดนํ้าในพลาสมาตํ่า ทำให้น้ำในหลอดเลือดอยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์ในเนื้อเยื่อ เกิดอาการบวม น้ำออกจากหลอดเลือดมีผลทำให้จำนวนพลาสมาลดลง

1.3. อาการทางคลินิก

1.3.1. บวมกดบุ๋ม

1.3.2. เบื่ออาหาร คลื่นไส้

1.3.3. อ่อนเพลีย เหนื่อย ง่าย

1.3.4. ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ

1.3.5. ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน

1.3.6. ความดันโลหิตสูง

1.4. หลักการวินิจฉัยโรค

1.4.1. จากประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย

1.4.2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

1.4.2.1. ตรวจปัสสาวะ

1.4.2.2. ตรวจทางรังสีวิทยา

1.5. หลักการพยาบาล

1.5.1. ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ

1.5.2. สังเกตภาวะแทรกซ้อน

1.5.3. ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ

1.5.4. บรรเทาอาการปวดแสบในการถ่ายปัสสาวะ

2. Nephrotic syndrome

2.1. สาเหตุ

2.1.1. เกิดจากความผิดปกติที่ไต และเกิดร่วมกับโรคระบบอื่นๆ เช่น โรคติดเชื้อ สารพิษ ภูมิแพ้ โรคของระบบหายใจและหลอดเลือด เนื้องอกชนิดร้าย เป็นต้น

2.2. อาการทางคลินิค

2.2.1. ผิวหนังซีด

2.2.2. อาการบวมกดบุ๋ม

2.2.3. ปัสสาวะน้อยสีเข้ม

2.2.4. กระสับกระส่าย

2.2.5. เบื่ออาหาร

2.2.6. อาการติดเชื้อร่วม

2.3. พยาธิสรีรภาพ

2.3.1. Glomerulus เกิดความเสียหายทำให้โปรตีนรั่วออกทางปัสสาวะ

2.4. หลักการรักษา

2.4.1. ให้ยาสเตียรอยด์

2.4.2. ป้องกันภาวะโภชนาการ / การติดเชื้อ

2.4.3. ลดอาการบวม

2.4.4. เพิ่มโพสแทสเซียม /วิตามิน

2.5. การวินิจฉัย

2.5.1. ตรวจร่างกาย

2.5.2. ตรวจปัสสาวะ

2.5.3. ตรวจเลือด

2.5.4. ตรวจพิเศษ

3. Acute glomerulonephritis

3.1. สาเหตุ

3.1.1. ภูมิคุ้มกันตำ่

3.1.2. ติดเชื้อสเตร็ปโตคอคคัส

3.2. พยาธิสภาพ

3.2.1. เมื่อเกิดการติดเชื้อจะเกิดกระบวนการอักเสบที่หน่วยไตทำให้ไตเสียหน้าที่

3.3. อาการทางคลินิค

3.3.1. ปัสสาวะน้อยออกมา เป็นสีแดง

3.3.2. บวมขอบตา

3.3.3. บวมเท้า กด ไม่บุ๋ม

3.3.4. กระสับกระส่าย อ่อนเพลีย

3.3.5. ความดันสูง

3.3.6. คันตามผิวหนัง

3.3.7. นำ้หนักเพิ่ม

3.4. หลักการวินิจฉัยโรค

3.4.1. จากประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย

3.4.2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

3.4.2.1. ตรวจปัสสาวะ

3.4.2.2. ตรวจเลือด

3.5. หลักการพยาบาล

3.5.1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ

3.5.2. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม

3.5.3. ลดความดันโลหิต

3.5.4. ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง (Hyperkalemia)

3.5.5. สังเกตการเกิดภาวะแทรกซ้อน

4. นางสาวศิรินาถ ทิศศิลา เลขที่ 85 ปี 2 รุ่น 25

5. Phimosis in children

5.1. ลักษณะของโรค

5.1.1. ภาวะที่ไม่สามารถรูดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศกลับทางด้านหลังหัวของอวัยวะเพศ

5.1.2. ภาวะที่หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เกิด

5.2. อาการ

5.2.1. ปัสสาวะลำบาก ร้องปวดก่อนขับปัสสาวะ

5.2.2. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง ขณะเบ่งถ่าย

5.2.3. หนังหุ้มปลายบวมแดงอักเสบ

5.2.4. ถ่ายปัสสาวะเป็นหยด กระปริบกระปรอยมีเลือดปน

5.2.5. มีไข้ หนาวสั่น

5.2.6. รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้

5.3. การรักษา

5.3.1. วิธีการประคับประคอง

5.3.1.1. ครีมสเตอรอยด์ทาบริเวณหนังหุ้มปลาย

5.3.1.2. พ่อแม่ช่วยรูดหนังหุ้มปลายลงแล้วรูดกลับ

5.3.1.3. ถ้ารักษาเกิด 3 เดือนไม่หายให้เปลี่ยนการรักษา

5.3.2. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

5.3.2.1. ข้อบ่งชี้

5.3.2.1.1. หนังหุ้มปลายไม่เกิด มีพังผืด

5.3.2.1.2. มีการอักเสบบริเวณปลายอวัยวะเพศ

5.3.2.1.3. มีทางเดินปัสสาวะอักเสบ

5.3.2.1.4. กลุ่มวัฒนธรรม ศาสนา เชื้อชาติ

5.3.2.2. ข้อห้าม

5.3.2.2.1. เด็กที่มีความผิดปกติของอวัยวะเพศ

5.3.2.2.2. ทารกแรกเกิดที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง มีความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด

5.3.2.3. การผ่าตัด

5.3.2.3.1. เพื่อเอาหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายออกไป ภาวะแทรกซ้อน

5.3.2.4. ภาวะแทรกซ้อน

5.3.2.4.1. การมีเลือดออกบริเวณผ่าตัด

5.3.2.4.2. การอักเสบติดเชื้อ

5.3.2.4.3. ท่อปัสสาวะตีบตัน