ระบบคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบคอมพิวเตอร์ by Mind Map: ระบบคอมพิวเตอร์

1. Bios (Basic Input/Output System) คือ โปรแกรมเก็บไว้ในรอมและเป็นโปรแกรมที่ไมโครโพรเซสเซอร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เรียกใช้เป็นโปรแกรมแรกตั้งแต่เปิดเครื่อง โดยไบออสจะท าหน้าที่ในการตรวจอุปกรณ์ที่ต่อไว้ตามต าแหน่งที่ ระบุและท าการโหลดระบบปฏิบัติการจากฮาร์ดดิสก์หรืออุปกรณ์อื่นๆ ไปที่แรมซึ่งเป็นหน่วยความจ าหลักแบบ ชั่วคราว หลังจากนั้นจะท าหน้าที่บริหารการไหลของข้อมูล ระหว่างระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์กับ อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ เป็นต้น

2. คุณลักษณะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

2.1. หน่วยรับข้อมูล

2.1.1. อุปกรณ์รับเข้ามีหลายประเภท แต่ละประเภทมีวิธีการในการน าเข้าข้อมูลที่ต่างกัน สามารถแบ่ง ประเภทของอุปกรณ์รับเข้าตามลักษณะการรับข้อมูลเข้าได้ดังนี้

2.1.1.1. อุปกรณ์รับเข้าแบบกด

2.1.1.1.1. แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์ส าหรับน าเข้าข้อมูลขั้นพื้นฐานท าหน้าที่เชื่อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบคอมพิวเตอร์ โดยส่งค าสั่งหรือข้อมูลจากผู้ใช้ไปสู่หน่วยประมวลผลใน ระบบคอมพิวเตอร์ ภายในแป้นพิมพ์จะมีแผงวงจรหลักที่จะประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์จ านวนมาก ซึ่ง มีลักษณะเป็นแผ่นบางๆ ที่ถูกฉาบด้วยหมึกที่เป็นตัวน าไฟฟ้า เมื่อถูกกดจนติดกันก็จะมีกระแสไฟฟ้าไหลในตัว วงจร เมื่อผู้ใช้กดแป้นใดแป้นหนึ่ง ข้อมูลในรูปของสัญญาณไฟฟ้าจากแป้นกดแต่ละแป้นจะถูกเปรียบเทียบรหัส กับรหัสมาตรฐานของแต่ละแป้นที่กดเพื่อเปลี่ยนให้เป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ไปแสดงบนจอภาพ

2.1.1.2. อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ต าแหน่ง

2.1.1.2.1. เมาส์(Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ไปยังต าแหน่ง ต่าง ๆ บนจอภาพ ในขณะที่สายตาจับอยู่ที่จอภาพก็สามารถใช้มือลากเมาส์ไปมาได้ระยะทางและทิศทางของ ตัวชี้จะสัมพันธ์และเป็นไปในแนวทางเดียวกับการเลื่อนเมาส์ เมาส์แบ่งได้เป็นสองแบบคือ เมาส์แบบทางกล (Mechanical) และเมาส์แบบใช้เแสง(Optical)

2.1.1.3. อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกา

2.1.1.3.1. อุปกรณ์ที่มีรูปร่างเหมือนปากกาแต่จะมีแสงที่ปลาย มักใช้ในงานเกี่ยวกับกราฟิกที่ต้องมี การวาดรูป การวาดแผนผังและคอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ(Computer Aided Design : CAD) อุปกรณ์ชิ้นนี้ จะช่วยให้ท างานได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกาที่มีใช้งานอยู่แพร่หลาย ได้แก่

2.1.1.4. อุปกรณ์รับเข้าแบบจอสัมผัส

2.1.1.5. อุปกรณ์รับเข้าแบบกวาดตรวจ

2.1.1.6. อุปกรณ์รับเข้าแบบจดจ าเสียง

2.1.2. 1) หน่วยควบคุม(Control Unit : CU) ท าหน้าที่ควบคุมการท างาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูล ระหว่างหน่วยความจ าของซีพียูควบคุมกลไกการท างานทั้งหมดของระบบ ควบคุมจังหวะเวลา โดยมีสัญญาณ นาฬิกาเป็นตัวก าหนดจังหวะการท างาน หน่วยนี้ท าหน้าที่คล้ายกับสมองคนซึ่งสามารถเปรียบเทียบการท างาน ของหน่วยควบคุมกับการท างานของสมองได้ดังนี้

2.1.2.1. 2) หน่วยค านวณและตรรกะ(Arithmetic and Logic Unit : ALU) ท าหน้าที่ค านวณทางเลขคณิต ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบทางตรรกะเพื่อท าการตัดสินใจ การท างานของหน่วยนี้จะรับ ข้อมูลจากหน่วยความจ ามาไว้ในที่เก็บชั่วคราวของเอแอลยูซึ่งเรียกว่าregister เพื่อท าการค านวณแล้วส่งผล ลัพธ์กลับไปยังหน่วยความจ า ทั้งนี้ในการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ

2.1.2.1.1. บรรจุภัณฑ์(Packaging) และฐานรอง(Socket)

2.1.2.1.2. อุปกรณ์ช่วยระบายความร้อนให้ซีพียู(Heat Sink)

2.1.2.1.3. สารเชื่อมความร้อน(Thermal Grease)

2.2. หน่วยประมวลผลกลาง

2.3. สารเชื่อมความร้อน(Thermal Grease)

2.3.1. โครงสร้างของลำดับขั้นหน่วยความจ า

2.3.2. รีจิสเตอร์(Register)

2.3.3. แคช(Cache)

2.3.4. หน่วยความจ าหลักแบบแก้ไขได้(Random-Access Memory : RAM)

2.3.5. หน่วยความจ าหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว(Read Only Memory : ROM)

2.3.6. พลอตเตอร์ (Plotter)

2.3.7. หน่วยความจำสำรอง

2.3.7.1. ซ็อคเก็ตซีพียู(CPU socket) หรือสล็อตซีพียู (CPU slot) คือ ฐานรองเพื่อบรรจุซีพียูเข้ากับ แผงวงจรหลักในคอมพิวเตอร์ ซ็อกเก็ตแต่ละรุ่นจะมีลักษณะเฉพาะขึ้นอยู่กับรุ่นของซีพียูที่ออกแบบมาให้ใช้ งานร่วมกัน จึงไม่สามารถน าซีพียูที่ออกแบบมาเพื่อใช้กับซ็อกเก็ตแบบหนึ่งไปใช้กับซ็อกเก็ตแบบอื่นได้

2.3.8. จอภาพ(Monitor)

2.3.9. เครื่องพิมพ์ (Printer)

2.4. หน่วยแสดงผล

2.5. เมนบอร์ด (Mainboard, mother board)

2.5.1. ชิปเซ็ต(Chip set) เป็นองค์ประกอบหลักที่ถูกติดตั้งอย่างถาวรบนเมนบอร์ด ไม่สามารถถอดหรือ เปลี่ยนแปลงได้ชิปเซ็ตมีความส าคัญอย่างมาก เนื่องจากเป็นตัวก าหนดอุปกรณ์อื่นๆ บนเมนบอร์ด

2.5.2. ช่องสำหรับติดตั้งหน่วยความจ า(Memory slot) หน่วยความจ าRAM จะมีลักษณะเป็นแผงที่มีความยาวจ านวนขา(Pin) และรอยบากที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงต้องมีการออกแบบช่องเสียบให้ตรงชนิดของRAM ที่จะน ามาใช้

2.5.3. ระบบบัสและช่องส าหรับติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ(Bus & Expansion slot) Bus หมายถึง ช่องทางการ ขนถ่ายข้อมูลจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ระบบ BUS ทางกายภาพ คือสาย ทองแดงที่วางตัวอยู่บนแผงวงจรของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกับอุปกรณ์ต่างๆ ความกว้างของระบบบัส จะนับขนาดข้อมูลที่วิ่งอยู่โดยจะมีหน่วยเป็นบิต(bit) บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ บัสจะมีความกว้างหลาย ขนาดขึ้นอยู่กับรุ่นของเครื่องพีซี บัสยิ่งกว้างจะท าให้การส่งถ่ายข้อมูลจะท าได้ครั้งละมากๆ จะมีผลท าให้ คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นท างานได้เร็วตามไปด้วย ดังที่เราจะเห็นว่าเครื่องพีซีของเราในปัจจุบันจะมีระบบบัสอยู่ หลายขนาด เช่น ISA, EISA, MCA, VLPCI เป็นต้น

2.5.4. ถ่านหรือแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ไบออสเป็นอุปกรณ์ที่อยู่บนเมนบอร์ด แบตเตอรี่ที่ใช้จะเป็นแบบลิเธียม เนื่องจากมีความ คงทน โดยมีอายุการใช้งานเฉลี่ยจะอยู่ที่ประมาณ3 ปี ลักษณะจะคล้ายกระดุมหรือเหรียญสีเงิน ถูกวางอยู่ใน เบ้าพลาสติกสีด าและอาจมีแผ่นโลหะติดอยู่เป็นขั้วไฟส าหรับต่อเข้ากับเมนบอร์ด

2.5.5. ขั้วต่อสวิทช์และไฟหน้าเครื่อง (Front Panel Connector) เป็นขั้วต่อสัญญาณที่ใช้เชื่อมต่อเข้ากับสายไฟสีต่างๆ ที่เชื่อมโยงมาจากปุ่มสวิทช์และไฟแสดงสถานะ ที่อยู่บริเวณด้านหน้าของตัวเครื่อง รวมทั้งล าโพงขนาดเล็กที่ถูกติดตั้งอยู่ภายในตัวเครื่องด้วยขั้วต่อสัญญาณที่ ถูกเชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์ต่างๆ

2.5.6. จัมเปอร์(Jumper) ใช้ก าหนดการท างานของเมนบอร์ด ซึ่งจัมเปอร์ที่เป็นตัวหลักได้แก่ จัมเปอร์ส าหรับก าหนดความเร็ว ของบัสและจัมเปอร์ส าหรับตั้งตัวคูณของซีพียูเพื่อก าหนดว่าจะให้ท างานที่ตามความเร็วเท่าไร

2.5.7. ขั้วต่อส าหรับหน่วยความจ าส ารอง o ขั้วต่อIDE ในปัจจุบันจะมีมาให้บนเมนบอร์ดเลยโดยปกติจะมี2 ชุดเนื่องจากมีตัวควบคุม2 ตัว แต่ ละตัวสามารถต่อฮาร์ดดิสก์ได้2 ตัว รวมเป็น4 ตัว และมักจะถูกใช้ต่อกับซีดีรอมไปแล้วด้วย ขาต่อสายIDE นี้ จะเป็นแบบแถวคล้ายกับจัมเปอร์เรียงกันอยู่ยาวรวม40 ขา โดยตัวหนึ่งเป็นPrimary และอีกตัวหนึ่งเป็น Secondary แต่ละตัวจะต่อเข้ากับสายแพซึ่งมี2-3 หัวต่อและถูกก าหนดให้ใช้ปลายด้านที่อยู่ห่างหัวอื่น ๆ ที่สุด ส าหรับต่อเข้ากับเมนบอร์ด ส่วนปลายอีกข้างหนึ่งเป็นฮาร์ดดิสก์ตัวแรก(master) และตรงกลางเป็นตัวที่สอง (slave) o ขั้วต่อFloppy Disk Drive มักอยู่คู่กับขั้วต่อIDE เสมอ มีขนาดสั้นกว่าเนื่องจากใช้เพียง34 ขา เท่านั้น และใช้ต่อกับไดรว์2 ตัว โดยมีการพลิกสายไว้แล้วท าให้ปลายสุดเป็นไดรว์A: เสมอ ส่วนที่เหลือคือ ไดรว์B: เว้นแต่ว่าก าหนดไว้ในBIOS ให้สลับกัน o ขั้วต่อSATA เป็นขั้วต่อที่มีจ านวนขาทั้งสิ้น7 ขา ใช้เชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์ฮาร์ดดิสก์ที่มี อินเตอร์เฟสแบบSerial ATA (SATA) สายสัญญาณมีขนาดเล็กและยาวกว่าเดิม ในการเชื่อมต่อแบบSerial ATA (SATA) นี้ จะใช้การรับส่งข้อมูลกันในแบบอนุกรม

2.5.8. พอร์ตอนุกรมและพอร์ตขนาน(Serial port & Parallel port) พอร์ตอนุกรมและขนานในปัจจุบันอยู่บนเมนบอร์ดแล้ว โดยถ้าเป็นบอร์ดATX จะมีขั้วต่ออยู่เลยโดย ไม่ต้องมีการต่อสายใด ๆ อีกท าให้ประกอบง่ายขึ้น แต่ถ้าไม่มีก็จะต้องต่อสายไปยังขั้วต่อต่างหาก ซึ่งจะต้องต่อ ให้ถูกต้อง ปกติพอร์ตอนุกรมจะมีได้2 พอร์ตส่วนพอร์ตขนาน มีได้เพียง1 พอร์ต โดยมากจะก าหนดเป็น COM1, COM2 และ Parallel (หรือSerial A, Serial B และPrinter) สายที่ใช้มักเป็นสายแพชุดเล็ก หัวต่อ ของพอร์ตเหล่านี้จะเป็นชนิดD-type คือเป็นรูปตัวD เพื่อไม่ให้เสียบกลับข้าง โดยพอร์ตขนานจะเป็นตัวเมียมี 25 รู ส่วนพอร์ตอนุกรมจะเป็นตัวผู้ซึ่งแต่เดิมมี25 ขา แต่ปัจจุบันลดลงเหลือ9 ขาเท่านั้นและก็ยังมีบ้างที่มีทั้ง สองแบบปนกัน

2.5.9. พอร์ตคีย์บอร์ดและเมาส์ พอร์ตคีย์บอร์ดเป็นพอร์ตที่อยู่บนเมนบอร์ดเรียกว่า PS/2 เมาส์แต่เดิมใช้ต่อกับพอร์ตอนุกรม แต่ ปัจจุบันก็มักใช้แบบ PS/2

2.5.10. พอร์ตUSB Universal Serial Bus (USB) เป็นระบบการเชื่อมต่อระหว่างพีซีกับอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่ พัฒนาขึ้นใหม่โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อจะเข้ามาแทนการต่อแบบต่าง ๆ ที่ใช้กันอยู่เดิมโดยให้มีความเร็วในการ รับส่งข้อมูลเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับกับความเร็วของอุปกรณ์ต่าง

2.5.11. Form Factor หมายถึง ขนาดของตัวเมนบอร์ดและต าแหน่งของขั้วต่ออุปกรณ์ภายนอกต่างๆ โดยจะต้องเข้ากันได้ กับชนิดของตัวเครื่องที่ใช้

2.6. ขั้วต่อสายแหล่งจ่ายไฟ (Power Connector) เป็นจุดที่ใช้เสียบเข้ากับหัวต่อหลักของสายที่มาจากPower Supply เพื่อป้อนไฟเลี้ยงขนาด5 โวลต์(+ 5 v และ-5 v) 12โวลต์(+12 v และ-12 v) และ+ 3.3 โวลต์ ให้กับวงจรไฟหลักและส่วนประกอบต่างๆ ที่ถูก ติดตั้งบนเมนบอร์ด

2.7. อุปกรณ์เพิ่มเติม

2.7.1. การ์ดแสดงผล(Graphic card)

2.7.2. การ์ดแสดงผล(Graphic card)การ์ดแสดงสัญญาณเสียง(Sound Card)

2.7.3. ซอฟต์แวร์

2.7.3.1. 3.1ภาษาคอมพิวเตอร์คือ สื่อกลางส าหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละ ยุคประกอบด้วย

2.7.3.1.1. 3.1.1 ภาษาเครื่อง (Machine Languages) คือ เลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดค าสั่งและใช้สั่งงาน

2.7.3.1.2. คอมพิวเตอร์การใช้ภาษาเครื่องถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจ

2.7.3.1.3. และจดจ าภาษาเครื่องได้ยาก ดังนั้นจึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร

2.7.3.1.4. 3.1.2 ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่2 ถัดจากภาษาเครื่อง

2.7.3.1.5. ภาษาแอสเซมบลียังมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มากโดยใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์

2.7.3.1.6. (Assembler) เพื่อแปลชุดภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง

2.7.3.1.7. 3.1.3 ภาษาระดับสูง (High-Level Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่3 ชุดค าสั่งมีลักษณะ

2.7.3.1.8. เป็นประโยคภาษาอังกฤษ ท าให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดค าสั่งง่ายขึ้นเนื่องจากภาษาระดับสูง

2.7.3.1.9. ใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องมีอยู่2 ชนิด คือ คอมไพเลอร์(Compiler)

2.7.3.1.10. และอินเทอร์พรีเตอร์(Interpreter)

2.7.3.1.11. o คอมไพเลอร์ จะท าการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่อง

2.7.3.1.12. ก่อนแล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ท างานตามภาษาเครื่องนั้น

2.7.3.1.13. o อินเทอร์พรีเตอร์ จะท าการแปลทีละค าสั่งแล้วให้คอมพิวเตอร์ท าตามค าสั่งนั้น เมื่อท าเสร็จแล้วจึง

2.7.3.1.14. แปลค าสั่งล าดับต่อไป

2.7.3.1.15. 3.1.4 ภาษายุคที่4 (Fourth-Generation Languages: 4GL) เป็นภาษาที่ไม่ต้องก าหนดขั้นตอนการ

2.7.3.1.16. ท างาน(Non-Procedural) เพียงแต่สั่งว่าต้องการข้อมูลอะไร ก็สามารถแสดงผลลัพธ์ได้ตามต้องการ ตัวอย่าง

2.7.3.1.17. ภาษายุคที่4 เช่น ชุดค าสั่งภาษาSQL (Structured Query Language)

2.7.3.1.18. 3.1.5 ภาษาเชิงวัตถุ(Object-Oriented Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ซึ่งจะมองทุกสิ่งเป็นวัตถุ

2.7.3.1.19. (Object) โดยวัตถุจะประกอบด้วยข้อมูล(Data) และวิธีการ(Method) และจะมีคลาส(Class) เป็นตัวก าหนด

2.7.3.1.20. คุณสมบัติของวัตถุ รวมทั้งความสามารถในการถ่ายทอดคุณสมบัติ(Inheritance) การEncapsulation และ

2.7.3.1.21. การน ากลับมาใช้ใหม่ ภาษาเชิงวัตถุสามารถน ามาพัฒนาระบบงานที่มีความซับซ้อนได้เป็นอย่างดี ตัวอย่าง

2.7.3.1.22. ภาษานี้เช่นVisual Basic, C++ และJAVA

2.7.3.2. 3.2 ประเภทของซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น2 ประเภท ได้แก่

2.7.3.2.1. 3.2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ท า หน้าที่ด าเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์

2.7.3.2.2. 3.2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถ น ามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่ม คือ ซอฟต์แวร์ส าเร็จและ ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์ส าเร็จในปัจจุบันมีมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลค า ซอฟต์แวร์ตารางท างาน ฯลฯ

2.7.3.3. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน

2.7.3.3.1. 4.1 หลักการเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน

2.7.3.3.2. 4.2 การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์

3. องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

3.1. ฮาร์ดแวร์

3.1.1. ตัวเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ชิ้น รวมถึงอุปกรณ์ภายนอก (Peripheraldevice) อื่นๆ เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องพิมพ์ฮาร์ดดิสก์ แผงวงจรหลัก (Mainboard) แรม การ์ดจอ ซีพียู เป็นต้น

3.2. ซอฟต์แวร์

3.2.1. โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่าง ๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์

3.3. บุคลากร

3.3.1. ผู้ใช้งานหรือผู้ที่ท างานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงโปรแกรมเมอร์นักวิเคราะห์ ระบบ และอื่นๆ

4. หลัการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์

4.1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)

4.1.1. หน่วยรับข้อมูลเป็นส่วนแรกที่ติดต่อกับผู้ใช้ หน้าที่หลักคือ ตอบสนองการสั่งงานจากผู้ใช้แล้วรับเป็น สัญญาณข้อมูลส่งต่อไปจัดเก็บหรือพักไว้ที่หน่วยความจ า ซึ่งอุปกรณ์ที่ท าหน้าที่เป็นหน่วยรับข้อมูลมีมากมาย

4.2. หน่วยประมวลผล (Processing Unit)

4.2.1. หน่วยประมวลผลถือเป็นส่วนที่ส าคัญที่สุดของเครื่องคอมพิวเตอร์ เปรียบได้กับสมองของมนุษย์ หน้าที่หลัก ของหน่วยนี้คือ น าเอาข้อมูลที่ถูกจัดเก็บหรือพักไว้ในหน่วยความจ ามาท าการคิดค านวณประมวลผลข้อมูลทาง คณิตศาสตร์(Arithmetic Operation) และเปรียบเทียบข้อมูลทางตรรกศาสตร์(Logical Operation)

4.3. หน่วยความจ า(Memory Unit)

4.3.1. หน่วยความจ าเป็นหน่วยที่ส าคัญที่จะต้องท างานร่วมกันกับหน่วยประมวลผลอยู่โดยตลอด หน้าที่หลักคือ จดจ าและบันทึกข้อมูลต่างๆที่ถูกส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล จัดเก็บไว้ชั่วคราว ก่อนที่จะส่งต่อไปให้หน่วย ประมวลผล

4.4. หน่วยแสดงผล(Output Unit)

4.4.1. หน่วยแสดงผลเป็นหน่วยที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมาในรูปแบบต่างๆ กันตามแต่ละอุปกรณ์ เช่น สัญญาณภาพออกสู่หน้าจอและงานพิมพ์จากเครื่องพิมพ์ เป็นต้น