ระบบคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบคอมพิวเตอร์ by Mind Map: ระบบคอมพิวเตอร์

1. เลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงาน

1.1. คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในงานด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานราชการ องค์กรต่างๆและธุรกิจขนาด เล็ก กลาง หรือใหญ่ โดยเลือกใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้น ระบบ คอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ซึ่งได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพจนสามารถตอบสนองความ ต้องการได้ในราคาที่ถูกลง ค่าบ ารุงรักษาต่ า การใช้งานสะดวกขึ้นและมีซอฟต์แวร์ส าเร็จรูปให้เลือกใช้งาน จ านวนมาก

2. คุณลักษณะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

2.1. หน่วยรับข้อมูล

2.1.1. อุปกรณ์รับเข้ามีหลายประเภท แต่ละประเภทมีวิธีการในการน าเข้าข้อมูลที่ต่างกัน สามารถแบ่ง ประเภทของอุปกรณ์รับเข้าตามลักษณะการรับข้อมูลเข้าได้ดังนี้

2.2. อุปกรณ์รับเข้าแบบกด

2.2.1. 1) แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์สำหรับนำเข้าข้อมูลขั้นพื้นฐานทำหน้าที่เชื่อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบคอมพิวเตอร์ โดยส่งคำสั่งหรือข้อมูลจากผู้ใช้ไปสู่หน่วยประมวลผลใน ระบบคอมพิวเตอร์ ภายในแป้นพิมพ์จะมีแผงวงจรหลักที่จะประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์จ านวนมาก ซึ่ง มีลักษณะเป็นแผ่นบางๆ ที่ถูกฉาบด้วยหมึกที่เป็นตัวนำไฟฟ้า เมื่อถูกกดจนติดกันก็จะมีกระแสไฟฟ้าไหลในตัว วงจร

2.3. อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ตำแหน่ง

2.3.1. 2)เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ไปยังต าแหน่ง ต่าง ๆ บนจอภาพ ในขณะที่สายตาจับอยู่ที่จอภาพก็สามารถใช้มือลากเมาส์ไปมาได้ระยะทางและทิศทางของ ตัวชี้จะสัมพันธ์และเป็นไปในแนวทางเดียวกับการเลื่อนเมาส์

2.4. อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกา

2.4.1. อุปกรณ์ที่มีรูปร่างเหมือนปากกาแต่จะมีแสงที่ปลาย มักใช้ในงานเกี่ยวกับกราฟิกที่ต้องมี การวาดรูป การวาดแผนผังและคอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ(Computer Aided Design : CAD) อุปกรณ์ชิ้นนี้ จะช่วยให้ท างานได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น

2.5. อุปกรณ์รับเข้าแบบจอสัมผัส

2.5.1. จอสัมผัส(Touch screen) เป็นจอภาพที่เคลือบสารพิเศษไว้ท าให้สามารถรับต าแหน่งของการ สัมผัสด้วยมือมนุษย์ได้ทันที ผู้ใช้เพียงแตะปลายนิ้วลงบนจอภาพในต าแหน่งที่ก าหนดไว้เพื่อเลือกการท างานที่ ต้องการ ซอฟต์แวร์ที่ใช้จะเป็นตัวค้นหาว่าผู้ใช้เลือกทางเลือกใดและท างานให้ตามนั้น

2.6. อุปกรณ์รับเข้าแบบกวาดตรวจ

2.6.1. 1) เครื่องอ่านรหัสแท่ง(Barcode Reader) การท างานของเครื่องใช้หลักการของการสะท้อนแสง โดยเครื่องอ่านจะส่องล าแสงไปยังรหัสแท่งที่อยู่บนสินค้า แล้วแปลงรหัสที่อ่านได้เป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งผ่านสาย ที่เชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์

2.6.2. 2) เครื่องกราดตรวจ(Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่สามารถน าเข้าข้อมูลที่เป็นรูปภาพหรือข้อความที่ อยู่บนสิ่งพิมพ์ได้โดยใช้หลักการสะท้อนแสง ข้อมูลที่รับเข้าจะเป็นรูปภาพที่ได้รับการแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและตีความได้ การพิจารณาคุณภาพของสแกนเนอร์จะพิจารณาจากความ ละเอียดของภาพซึ่งมีหน่วยเป็นจุดต่อนิ้ว(dot per inch: dpi)

2.7. อุปกรณ์รับเข้าแบบจดจำเสียง

2.7.1. เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รับสัญญาณเสียงที่มนุษย์พูดและแปลงเป็น สัญญาณดิจิตอลเก็บข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานทางเสียงแทนที่จะใช้แป้นพิมพ์

2.7.2. หน่วยประมวลผลกลาง หน่ ว ยป ร ะ ม ว ล ผ ล กล าง ( Central Processing Unit : CPU) ห รือไ มโ ค รโพ รเ ซ ส เ ซอ ร์ ของ ไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่น าค าสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจ ามาแปลความหมายและกระท าตาม ค าสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ซึ่งแทนได้ด้วยรหัสเลขฐานสอง

3. เมนบอร์ด (Mainboard, mother board)

3.1. เป็นหัวใจสำคัญที่สุดที่อยู่ภายในเครื่อง เมื่อเปิดฝาเครื่องออกมาจะเป็นแผงวงจรขนาดใหญ่วางอยู่ คือส่วนที่เรียกว่า"เมนบอร์ด" ส่วนประกอบหลักที่สำคัญบนเมนบอร์ด

3.2. 1) ซ็อคเก็ตซีพียู(CPU socket) หรือสล็อตซีพียู (CPU slot) คือ ฐานรองเพื่อบรรจุซีพียูเข้ากับ แผงวงจรหลักในคอมพิวเตอร์ ซ็อกเก็ตแต่ละรุ่นจะมีลักษณะเฉพาะขึ้นอยู่กับรุ่นของซีพียูที่ออกแบบมาให้ใช้ งานร่วมกัน

3.3. 2) ชิปเซ็ต(Chip set) เป็นองค์ประกอบหลักที่ถูกติดตั้งอย่างถาวรบนเมนบอร์ด ไม่สามารถถอดหรือ เปลี่ยนแปลงได้ชิปเซ็ตมีความส าคัญอย่างมาก เนื่องจากเป็นตัวก าหนดอุปกรณ์อื่นๆ

3.4. ช่องส าหรับติดตั้งหน่วยความจ า(Memory slot) หน่วยความจ าRAM จะมีลักษณะเป็นแผงที่มีความยาวจ านวนขา(Pin) และรอยบากที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงต้องมีการออกแบบช่องเสียบให้ตรงชนิดของRAM ที่จะน ามาใช้

4. ซอฟต์แวร์

4.1. ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่างๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์ ซอฟต์แวร์จึงรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ท าให้คอมพิวเตอร์ท างานได้

4.2. ภาษาคอมพิวเตอร์คือ สื่อกลางส าหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละ ยุคประกอบด้วย ภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี

5. ประเภทของซอฟต์แวร์

5.1. ระบบปฏิบัติการ

5.1.1. ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี เช่น ดอส(Disk Operating System: DOS) วินโดวส์(Windows) โอเอสทู(OS/2) ยูนิกซ์(UNIX) o ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้ค าสั่งเป็นตัวอักษร o วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่เน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งาน สามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ต าแหน่งเพื่อเลือกต าแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพ

5.2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์

5.2.1. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถ น ามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่ม คือ ซอฟต์แวร์ส าเร็จและ ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์ส าเร็จในปัจจุบันมีมากมาย

5.3. ซอฟต์แวร์ส าเร็จ

5.3.1. ซอฟต์แวร์ส าเร็จ(Package) เป็นซอฟต์แวร์ที่มีความนิยมใช้กันสูงมาก ซอฟต์แวร์ส าเร็จเป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทพัฒนาขึ้นแล้วน าออกมาจ าหน่าย เพื่อให้ผู้ใช้งานซื้อไปใช้ได้โดยตรง ไม่ ต้องเสียเวลาในการพัฒนาซอฟต์แวร์อีก

5.4. ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ

5.4.1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเพื่อใช้งานเฉพาะส าหรับงานแต่ละประเภทให้ตรง กับความต้องการของผู้ใช้แต่ละราย ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะมักเป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้พัฒนาต้องเข้าไปศึกษา 24 รูปแบบการท างานหรือความต้องการของธุรกิจนั้น ๆ แล้วจัดท าขึ้น เช่น ระบบงานทางด้านบัญชี

6. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน

6.1. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน

6.1.1. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์

6.1.1.1. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อน ามาใช้ในระบบงาน ต้องสามารถรองรับการขยายตัวของระบบ งานในอนาคต เนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาและรวดเร็วมาก สิ่งที่ควรพิจารณา ในการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งาน

6.2. การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์

6.2.1. การเลือกโปรแกรมส าหรับคอมพิวเตอร์โปรแกรมแรกคือระบบปฏิบัติการ ต้องให้เหมาะสมกับระบบ คอมพิวเตอร์และต้องเป็นโปรแกรมที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ขั้นตอนในการเลือกโปรแกรมให้เหมาะสมกับลักษณะ ของงานมีดังนี้ 1. ตรงกับความต้องการ สามารถท างานได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ 2. มีประสิทธิภาพ สามารถจัดการกับข้อมูลได้ดี การแสดงผล การประมวลผลรวดเร็วและถูกต้อง 3. ง่ายต่อการใช้งาน สามารถเรียนรู้วิธีการใช้งานได้ง่ายและมีเมนูช่วยเหลือในระหว่างการใช้งาน 4. มีความยืดหยุ่น สามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน สามารถรับส่งข้อมูลกับโปรแกรม อื่น ๆ ได้ รวมทั้งสามารถใช้งานกับอุปกรณ์แสดงผลได้หลายชนิด เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ 5. คู่มือการใช้งานที่มีคุณภาพ สามารถอธิบายหรือให้ค าแนะน าต่อผู้ใช้งานเมื่อเกิดปัญหาขึ้น 6. การรับรองผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิตหรือผู้ขายรับรองผลิตภัณฑ์ของตน มีบริการให้ค าปรึกษาเมื่อมีปัญหา จากการใช้ผลิตภัณฑ์ให้บริการ Upgrade ฟรี

7. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

7.1. ฮาร์ดแวร์

7.1.1. ตัวเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ชิ้น รวมถึงอุปกรณ์ภายนอก (Peripheraldevice) อื่นๆ เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องพิมพ์ฮาร์ดดิสก์ แผงวงจรหลัก (Mainboard) แรม การ์ดจอ ซีพียู เป็นต้น

7.2. ซอฟต์แวร์

7.2.1. โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่าง ๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์

7.3. บุคลากร

7.3.1. ผู้ใช้งานหรือผู้ที่ท างานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงโปรแกรมเมอร์นักวิเคราะห์ ระบบ และอื่นๆ

8. หลักการทางานของระบบคอมพิวเตอร์

8.1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)

8.1.1. หน่วยรับข้อมูลเป็นส่วนแรกที่ติดต่อกับผู้ใช้ หน้าที่หลักคือ ตอบสนองการสั่งงานจากผู้ใช้แล้วรับเป็น สัญญาณข้อมูลส่งต่อไปจัดเก็บหรือพักไว้ที่หน่วยความจ า ซึ่งอุปกรณ์ที่ท าหน้าที่เป็นหน่วยรับข้อมูลมีมากมาย เช่น Mouse, Keyboard, Joystick, Touch Pad เป็นต้น

8.2. หน่วยประมวลผล (Processing Unit)

8.2.1. หน่วยประมวลผลถือเป็นส่วนที่ส าคัญที่สุดของเครื่องคอมพิวเตอร์ เปรียบได้กับสมองของมนุษย์ หน้าที่หลัก ของหน่วยนี้คือ น าเอาข้อมูลที่ถูกจัดเก็บหรือพักไว้ในหน่วยความจ ามาท าการคิดค านวณประมวลผลข้อมูลทาง คณิตศาสตร์(Arithmetic Operation)

8.3. หน่วยความจ า(Memory Unit)

8.3.1. หน่วยความจ าเป็นหน่วยที่ส าคัญที่จะต้องท างานร่วมกันกับหน่วยประมวลผลอยู่โดยตลอด หน้าที่หลักคือ จดจ าและบันทึกข้อมูลต่างๆที่ถูกส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล จัดเก็บไว้ชั่วคราว ก่อนที่จะส่งต่อไปให้หน่วย ประมวลผล

8.4. หน่วยแสดงผล(Output Unit)

8.4.1. หน่วยแสดงผลเป็นหน่วยที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมาในรูปแบบต่างๆ กันตามแต่ละอุปกรณ์ เช่น สัญญาณภาพออกสู่หน้าจอและงานพิมพ์จากเครื่องพิมพ์ เป็นต้น

9. โครงสร้างของลำดับขั้นหน่วยความจำ

9.1. รีจิสเตอร์(Register)

9.1.1. เป็นหน่วยความจ าที่มีความจุน้อยสุด มีความเร็วสูงสุด และมีราคาแพงสุด โดยถูกสร้างเป็น ส่วนหนึ่งของชิปหน่วยประมวลผลกลาง ใช้เก็บข้อมูลเข้าและผลลัพธ์ตามที่ระบุไว้ในแต่ละค าสั่งของชุดค าสั่ง ของหน่วยประมวลผลกลาง ตัวอย่างเช่น รีจิสเตอร์ที่ใช้เก็บต าแหน่งต่างๆ

9.2. แคช(Cache)

9.2.1. คุณลักษณะที่ส าคัญของRAM มีอยู่2 ประการคือ สามารถอ่านหรือบันทึกข้อมูลได้อย่างง่ายดาย และรวดเร็วด้วยการใช้สัญญานไฟฟ้า และเก็บข้อมูลไว้ชั่วคราว RAM ต้องได้รับพลังงานไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลา

9.2.2. แคชสร้างขึ้นมาเพื่อให้เป็นหน่วยความจ าที่ท างานได้เร็วทีสุด ท าหน้าที่เก็บส าเนาข้อมูลบางส่วน ในหน่วยความจ าหลักเอาไว้ เมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้ามากขึ้น

9.3. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้(Random-Access Memory : RAM)

9.3.1. 1) Dynamic RAM(DRAM) เป็นหน่วยความจ าที่ประกอบด้วยเซลล์ที่ใช้เก็บข้อมูลที่ใช้อัด ประจุไฟฟ้าเข้าไปเก็บไว้ในตัวcapacitor เป็นระยะอยู่เสมอเพื่อที่จะได้สามารถเก็บรักษาข้อมูลเอาไว้ได้

9.3.2. ค่าไบนารี่“0” หรือ“1” จะถูกเก็บไว้ด้วยflip-flop logic gate ซึ่งสามารถเก็บค่าไว้ในตัวเองได้นานตราบเท่าที่มีพลังงานไฟฟ้าป้อนให้อย่างต่อเนื่อง โดยไม่ต้องอาศัย การถ่ายเทประจุไฟฟ้า

9.4. หน่วยความจ าหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว(Read Only Memory : ROM)

9.4.1. เป็นหน่วยความจ าที่มีคุณสมบัติในการเก็บข้อมูลไว้ได้ตลอดโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้าหล่อเลี้ยง แม้จะ ปิดเครื่องไปแล้วเมื่อเปิดเครื่องใหม่ข้อมูลในรอมก็ยังอยู่เหมือนเดิม นิยมใช้เป็นหน่วยความจ าส าหรับเก็บ ชุดค าสั่งในการเริ่มต้นระบบหรือชุดค าสั่งที่ส าคัญๆ

9.5. หน่วยความจำสำรอง

9.5.1. 1. ฮาร์ดดิสก์(Hard disk) ท ามาจากแผ่นโลหะแข็งเรียกว่าPlatters ท าให้เก็บข้อมูลได้มากและ ท างานได้รวดเร็ว ส่วนมากจะถูกยึดติดอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์

9.5.2. ออปติคัสดิสก์ (Optical Disk) ใช้เทคโนโลยีของแสงเลเซอร์ท าให้สามารถเก็บข้อมูลได้จ านวน มหาศาลในราคาไม่แพงมากนัก ในปัจจุบันมีอยู่หลายแบบซึ่งใช้เทคโนโลยีต่างกันไป

9.6. หน่วยแสดงผล

9.6.1. 1) จอภาพ(Monitor) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลออกมาในลักษณะของข้อความและรูปภาพ หลักการในการแสดงภาพหรือข้อมูลบนจอจะคล้ายกับการท างานของจอโทรทัศน์

9.6.2. 2)เครื่องพิมพ์ (Printer) คือ อุปกรณ์แสดงผลลัพที่ใช้พิมพ์ข้อมูลที่เป็นเอกสาร ข้อความ และรูปภาพให้ ไปปรากฏบนกระดาษ เพื่อสามารถน าไปใช้ในงานอื่นๆ ได้

9.6.3. 3) พลอตเตอร์ (Plotter) คือ เครื่องวาดลายเส้นท างานโดยอาศัยแขนจับปากกาลากลายเส้นในแนวแกน X-Y บนกระดาษเช่นเดียวกับการเขียนด้วยปากกาหรือดินสอ