ระบบเครือข่าย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบเครือข่าย by Mind Map: ระบบเครือข่าย

1. ประเภทของเครือข่าย

1.1. LAN (Lo3.1.1 LAN (Local Area Network)cal Area Network)

1.1.1. ระบบเครื่องข่ายท้องถิ่น เป็นเน็ตเวิร์กในระยะทางไม่เกิน 10 กิโลเมตร

1.2. MAN (Metropolitan Area Network)

1.2.1. ระบบเครือข่ายเมือง เป็นเน็ตเวิร์กที่จะต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์

1.3. WAN (Wide Area Network)

1.3.1. ระบบเครือข่ายกว้างไกล หรือเรียกได้ว่าเป็น World Wide ของระบบเน็ตเวิร์ก

2. โพรโตคอล(Protocol)

2.1. ความหมาย

2.1.1. โพรโทคอล คือ ข้อกําหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย ไม่ว่าจะ เป็นการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หรือระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่นๆ

2.2. องค์ประกอบหลักของโพรโตคอล

2.2.1. Syntax หมายถึงรูปแบบ(Format) หรือโครงสร้าง(Structure) ของข้อมูล

2.2.2. Semantics หมายถึง ความหมายของข้อมูลที่ได้รับมา

2.2.3. Timing เป็นข้อกําหนดของเวลาในการรับส่งข้อมูล

2.3. มาตรฐานของโพรโตคอล 7 ชั้น

2.3.1. 1. ชั้นกายภาพ (physical layer)ทําหน้าที่แปลงข้อมูลในรูปของสัญญาณ ดิจิทัลให้ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดได้

2.3.2. 2.ชั้นเชื่อมโยงข้อมูล(data linklayer)ทําหน้าที่เสมือนเป็นผู้บริการส่ง ข้อมูล

2.3.3. 3. ชั้นเครือข่าย(network layer)ทําหน้าที่ควบคุมการส่งผ่านข้อมูล ระหว่างต้นางและปลายทางโดยผ่านจุดต่างๆ

2.3.4. 4. ชั้นขนส่ง(transport layer)เป็นชั้นของการตรวจสอบและควบคุมการส่ง ข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทางให้ถูกต้อง

2.3.5. 5.ชั้นส่วนงาน(session layer)ทําหน้าที่สร้างการติดต่อระหว่างเครื่องต้น

2.3.6. 6. ชั้นการนําเสนอข้อมูล (presentation layer)จะแปลงข้อมูลที่ส่งมาให้ อยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมของเครื่องผู้รับเข้าใจ

2.3.7. 7.ชั้นการประยุกต์ (application layer)เป็นส่วนติดต่อระหว่างโปรแกรม ประยุกต์ของเครือข่ายผู้ใช้

2.4. โพรโตคอลTCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)

2.4.1. จุดประสงค์ของโพรโตคอล TCP/IP

2.4.1.1. เพื่อใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างระบบที่มีความแตกต่างกัน

2.4.1.2. ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเครือข่าย

2.4.1.3. มีความคล่องตัวต่อการสื่อสารข้อมูลได้หลายชนิดทั้งแบบที่ไม่มีความเร่งด่วน

2.4.2. การย้อนกลับของข้อมูล 4 ขั้นตอน

2.4.2.1. ชั้นโฮสต์-เครือข่าย (Host-to-network)

2.4.2.1.1. เป็นสิ่งที่ไม่มีการกําหนดรายละเอียดอย่างเป็นทางการหน้าที่หลักคือการรับข้อมูลจากชั้น สื่อสาร IP มาแล้วส่งไปยังโหนดที่ระบุไว้ในเส้นทางเดินข้อมูลทางด้านผู้รับก็จะทํางานในทาง กลับกันคือรับข้อมูลจากสายสื่อสารแล้วนําส่งให้กับโปรแกรมในชั้นสื่อสารเป็นสิ่งที่ไม่มีการกําหนดรายละเอียดอย่างเป็นทางการหน้าที่หลักคือการรับข้อมูลจากชั้น สื่อสาร

2.4.2.2. ชั้นสื่อสารอินเตอร์เน็ต (The Internet Layer)

2.4.2.2.1. ใช้ประเภทของระบบการสื่อสารที่เรียกว่า ระบบเครือข่ายแบบสลับช่องสื่อสารระดับแพ็กเก็ต

2.4.2.3. ชั้นสื่อสารอินเตอร์เน็ต (The Internet Layer)

2.4.2.3.1. Transmission Control Protocol (TCP) เป็นแบบที่มีการกําหนดช่วงการ สื่อสารตลอดระยะเวลาการสื่อสาร (connection-oriented)

2.4.2.3.2. UDP (User Datagram Protocol) เป็นการติดต่อแบบไม่ต่อเนื่อง (connectionless)

2.4.2.4. ชั้นสื่อสารการประยุกต์ (Application Layer)

2.4.2.4.1. มีโพรโตคอลสําหรับสร้างจอเทอร์มินัลเสมือน เรียกว่า TELNET โพรโตคอลสําหรับการจัดการแฟ้มข้อมูล เรียกว่า FTP

2.5. โพรโตคอล FTP (File Transfer Protocal

2.5.1. การถ่ายโอนไฟล์ หรือเรียกได้อีกอย่างว่า การ คัดลอกแฟ้มข้อมูลบนเครือข่าย คือ การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งมายัง อีกระบบหนึ่งผ่านเครือข่าย ซึ่งทําได้หลายรูปแบบ เช่น การโอนจากแม่ข่ายมายังเครื่องพีซี หรือ เครื่องพีซีไปแม่ข่ายหรือระหว่างแม่ข่ายด้วยกันเอง

2.5.2. การโอนเข้ารหัสโดนใช้ key

2.5.2.1. Symmetric keyทั้งผู้ส่งและผู้รับจะใช้ key อันเดียวกันในการเข้ารหัสและถอดรหัส และจะ เรียก key อันนี้ว่า secret key

2.5.2.2. Asymmetrickey ผู้ส่งและผู้รับจะถือ key คนละอันที่เป็นคู่กันอันแรกเรียก public key ซึ่ง จะแจกจ่ายให้ใครถือก็ได้ อีกอันเรียกว่า private key

3. รูปร่างเครือข่าย

3.1. เชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด(point-to-pointConnection)และเชื่อมต่อแบบหลายจุด (multipoint Connection)

3.1.1. เป็นการเชื่อมต่อระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสารสอง เครื่อง โดยใช้สื่อกลางหรือช่องทางในการ สื่อสารช่องทางเดียวเป็นการจองสายในการ ส่งข้อมูลระหว่างกันโดยไม่มีการใช้งาน สื่อกลางนั้นร่วมกับอุปกรณ์ชิ้นอื่นๆ

3.2. การเชื่อมต่อแบบหลายจุด(multipoint)

3.2.1. BUS

3.2.1.1. การนําอุปกรณ์ทุกชิ้นในเครือข่ายเชื่อมต่อกับสายสื่อสารหลักที่ เรียกว่า "บัส" (BUS) เมื่อโหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปยังอีกโหนดหนึ่งภายในเครือข่าย ข้อมูล จากโหนดผู้ส่งจะถูกส่งเข้าสู่สายบัสในรูปแบบของแพ็กเกจ

3.2.2. RING

3.2.2.1. ในเครือข่ายจะไหลวนอยู่ในเครือข่ายไปในทิศทางเดียวเหมือนวงแหวน

3.2.3. STAR

3.2.3.1. ฮับเป็นจุดผ่านการติดต่อกันระหว่างทุกโหนดในเครือข่าย ศูนย์กลางจึงมีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมดทั้งภายใน และภายนอกเครือข่าย นอกจากนี้ศูนย์กลางยังทําหน้าที่เป็นศูนย์กลางข้อมูลอีกด้วย โดยเชื่อมต่อเข้ากับไฟล์เซิร์ฟเวอร์อีกที

3.3. อุปกรณ์เครือข่าย

3.3.1. การ์ดเครือข่าย (Network Interface Card)

3.3.1.1. ทําหน้าที่ในการเชื่อมคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานอยู่นั้นเข้ากับระบบเครือข่ายได้

3.3.2. อับ (HUB)

3.3.2.1. อุปกรณ์ที่รวมสัญญาณที่มาจาก อุปกรณ์รับส่งหลายๆ สถานีเข้าด้วยกัน ฮับ เปรียบเสมือนเป็นบัสที่รวมอยู่ที่จุดเดียวกัน ฮับที่ใช้งานอยู่ภายใต้มาตรฐานการรับส่ง แบบอีเทอร์เน็ต หรือ IEEE802.3

3.3.3. สวิตซ์ (swith)

3.3.3.1. ข้อแตกต่างจากฮับ คือ การรับส่งข้อมูลจากสถานีหรืออุปกรณ์ตัว หนึ่ง จะไม่กระจายไปยังทุกสถานีเหมือนฮับ ทั้งนี้เพราะสวิตช์จะรับกลุ่มข้อมูลหรือแพ็ก เก็ตมาตรวจสอบก่อน แล้วดูว่าแอดเดรสของสถานีหลายทางไปที่ใด สวิตช์จะลดปัญหา การชนกันของข้อมูลเพราะไม่ต้องกระจายข้อมูลไปทุกสถานี

3.3.4. บริดจ์ (Bridge)

3.3.4.1. เป็นอุปกรณ์ที่เหมาะกับเครือข่ายหลายๆ กลุ่มที่เชื่อมต่อกัน เนื่องจาก สามารถแบ่งเครือข่ายที่เชื่อมต่อ กันหลายๆ เซกเมนต์แยกออก จากกันได้ ทําให้ข้อมูลในแต่ละ เซกเมนต์ไม่ต้องวิ่งไปทั่วทั้ง

3.3.5. รีพีตเตอร์ (Repeater)

3.3.5.1. เป็นอุปกรณ์ทวนสัญญาณเพื่อให้สามารถส่งข้อมูลถึงกันได้ ระยะไกลขึ้น คือ รีพีตเตอร์จะปรับปรุงสัญญาณที่อ่อนตัวให้กลับมาเป็นรูปแบบเดิม เพื่อให้สัญญาณสามารถส่งต่อไปได้อีก

3.3.6. โมเด็ม (Modem)

3.3.6.1. เป็นอุปกรณ์ที่ทําหน้าที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ให้สามารถ เชื่อมคอมพิวเตอร์ที่อยู่ระยะไกลเข้าหากันได้ด้วยการผ่านสายโทรศัพท์

3.3.7. เร้าเตอร์ (Router)

3.3.7.1. ในการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีการเชื่อมโยง หลายๆ เครือข่าย หรืออุปกรณ์หลายอย่างเข้าด้วยกัน