บทที่3 ระบบคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่3 ระบบคอมพิวเตอร์ by Mind Map: บทที่3  ระบบคอมพิวเตอร์

1. 2. คุณลักษณะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

1.1. 2.1 หน่วยรับข้อมูล อุปกรณ์รับเข้ามีหลายประเภท แต่ละประเภทมีวิธีการในการน าเข้าข้อมูลที่ต่างกัน สามารถแบ่ง ประเภทของอุปกรณ์รับเข้าตามลักษณะการรับข้อมูลเข้าได้ดังนี้

1.1.1. 2.1.1 อุปกรณ์รับเข้าแบบกด 1) แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์ส าหรับน าเข้าข้อมูลขั้นพื้นฐานท าหน้าที่เชื่อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบคอมพิวเตอร์ โดยส่งค าสั่งหรือข้อมูลจากผู้ใช้ไปสู่หน่วยประมวลผลใน ระบบคอมพิวเตอร์ ภายในแป้นพิมพ์จะมีแผงวงจรหลักที่จะประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์จ านวนมาก ซึ่ง มีลักษณะเป็นแผ่นบางๆ ที่ถูกฉาบด้วยหมึกที่เป็นตัวน าไฟฟ้า

1.1.2. 2.1.2 อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ต าแหน่ง 1) เมาส์(Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ไปยังต าแหน่ง ต่าง ๆ บนจอภาพ ในขณะที่สายตาจับอยู่ที่จอภาพก็สามารถใช้มือลากเมาส์ไปมาได้ระยะทางและทิศทางของ ตัวชี้จะสัมพันธ์และเป็นไปในแนวทางเดียวกับการเลื่อนเมาส์

1.1.3. 2.1.3 อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกา คือ อุปกรณ์ที่มีรูปร่างเหมือนปากกาแต่จะมีแสงที่ปลาย มักใช้ในงานเกี่ยวกับกราฟิกที่ต้องมี การวาดรูป การวาดแผนผังและคอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ(Computer Aided Design : CAD) อุปกรณ์ชิ้นนี้ จะช่วยให้ท างานได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกาที่มีใช้งานอยู่แพร่หลาย ได้แก่ 1) ปากกาแสง(Light pen) เป็นอุปกรณ์ที่ไวต่อแสงที่สามารถท าหน้าที่เหมือนเมาส์ในการชี้ต าแหน่งบนจอภาพหรือท างาน กับรายการเลือกและสัญรูปเพื่อสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์ ปลายข้างหนึ่งของปากกาแสงจะมีสายเชื่อมต่อเข้า กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อมีการแตะปากกาที่จอภาพข้อมูลจะถูกส่งผ่านสายนี้ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ท าให้ สามารถรับรู้ต าแหน่งที่ชี้และกระท าตามค าสั่งได้

1.1.4. 2.1.4 อุปกรณ์รับเข้าแบบจอสัมผัส จอสัมผัส(Touch screen) เป็นจอภาพที่เคลือบสารพิเศษไว้ท าให้สามารถรับต าแหน่งของการ สัมผัสด้วยมือมนุษย์ได้ทันที ผู้ใช้เพียงแตะปลายนิ้วลงบนจอภาพในต าแหน่งที่ก าหนดไว้เพื่อเลือกการท างานที่ ต้องการ ซอฟต์แวร์ที่ใช้จะเป็นตัวค้นหาว่าผู้ใช้เลือกทางเลือกใดและท างานให้ตามนั้น

1.1.5. 2.1.5 อุปกรณ์รับเข้าแบบกวาดตรวจ 1) เครื่องอ่านรหัสแท่ง(Barcode Reader) การท างานของเครื่องใช้หลักการของการสะท้อนแสง โดยเครื่องอ่านจะส่องล าแสงไปยังรหัสแท่งที่อยู่บนสินค้า แล้วแปลงรหัสที่อ่านได้เป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งผ่านสาย 2) เครื่องกราดตรวจ(Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่สามารถน าเข้าข้อมูลที่เป็นรูปภาพหรือข้อความที่ อยู่บนสิ่งพิมพ์ได้โดยใช้หลักการสะท้อนแสง

1.1.6. 2.1.6 อุปกรณ์รับเข้าแบบจดจ าเสียง เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รับสัญญาณเสียงที่มนุษย์พูดและแปลงเป็น สัญญาณดิจิตอลเก็บข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ สั่งให้คอมพิวเตอร์ท างานทางเสียงแทนที่จะใช้แป้นพิมพ์

1.2. 2.2 หน่วยประมวลผลกลาง หน่ ว ยป ร ะ ม ว ล ผ ล กล าง ( Central Processing Unit : CPU) ห รือไ มโ ค รโพ รเ ซ ส เ ซอ ร์ ของ ไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่น าค าสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจ ามาแปลความหมายและกระท าตาม ค าสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ซึ่งแทนได้ด้วยรหัสเลขฐานสอง องค์ประกอบภายในของซีพียูที่ส าคัญมี รายละเอียดดังนี้

1.2.1. 1) หน่วยควบคุม(Control Unit : CU) ท าหน้าที่ควบคุมการท างาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูล ระหว่างหน่วยความจ าของซีพียูควบคุมกลไกการท างานทั้งหมดของระบบ ควบคุมจังหวะเวลา โดยมีสัญญาณ นาฬิกาเป็นตัวก าหนดจังหวะการท างาน หน่วยนี้ท าหน้าที่คล้ายกับสมองคนซึ่งสามารถเปรียบเทียบการท างาน

1.2.2. 2) หน่วยค านวณและตรรกะ(Arithmetic and Logic Unit : ALU) ท าหน้าที่ค านวณทางเลขคณิต ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบทางตรรกะเพื่อท าการตัดสินใจ การท างานของหน่วยนี้จะรับ ข้อมูลจากหน่วยความจ ามาไว้ในที่เก็บชั่วคราวของเอแอลยูซึ่งเรียกว่าregister

1.2.2.1. 2.2.1 บรรจุภัณฑ์(Packaging) และฐานรอง(Socket) ของซีพียู สามารถแบ่งเป็น 4 แบบ

1.2.2.1.1. 1) แบบตลับ(Cartridge)

1.2.2.1.2. 2) แบบBGA (Ball Grid Array)

1.2.2.1.3. 3) แบบPGA (Pin Grid Array)

1.2.2.1.4. 4) แบบLGA (Land Grid Array)

1.2.2.2. 2.2.2 อุปกรณ์ช่วยระบายความร้อนให้ซีพียู(Heat Sink) ขณะที่ซีพียูท างานจะเกิดความร้อนค่อนข้างมาก จึงต้องมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า ฮีตซิงค์(Heat Sink) มาช่วยพาความร้อนออกมาจากซีพียูให้เร็วที่สุดและจะต้องใช้พัดลมเป่าเพื่อระบายความร้อนออกไป

1.2.2.3. 2.2.3 สารเชื่อมความร้อน(Thermal Grease) เป็นสารชนิดหนึ่งที่ท ามาจากซิลิโคนผสมกับสารน าความร้อนบางชนิด เช่น Zinc Oxide ซึ่งมี คุณสมบัติเป็นตัวกลางในการน าพาความร้อนได้ดี มักใช้ทาฉาบไว้บางๆ เพื่อไม่ให้มีช่องว่างระหว่างซีพียูกับ Heat Sink และท าหน้าที่ช่วยในการถ่ายเทความร้อนจากซีพียูไปสู่Heat Sink ได้ดียิ่งขึ้น

1.3. 2.3 หน่วยความจำ

1.3.1. 2.3.1 โครงสร้างของล าดับขั้นหน่วยความจ าตามแผนภาพด้านบนหน่วยความจ าของเครื่องคอมพิวเตอร์มีการจัดโครงสร้างเป็นแบบล าดับชั้น ซึ่ง ชั้นสูงสุดและอยู่ใกล้กับโปรเซสเซอร์มากที่คือ รีจีสเตอร์(Register)ที่อยู่ภายในโปรเซสเซอร์

1.3.2. 2.3.2 รีจิสเตอร์(Register) เป็นหน่วยความจ าที่มีความจุน้อยสุด มีความเร็วสูงสุด และมีราคาแพงสุด โดยถูกสร้างเป็น ส่วนหนึ่งของชิปหน่วยประมวลผลกลาง ใช้เก็บข้อมูลเข้าและผลลัพธ์ตามที่ระบุไว้ในแต่ละค าสั่งของชุดค าสั่ง ของหน่วยประมวลผลกลาง

1.3.3. 2.3.3 แคช(Cache) แคชสร้างขึ้นมาเพื่อให้เป็นหน่วยความจ าที่ท างานได้เร็วทีสุด ท าหน้าที่เก็บส าเนาข้อมูลบางส่วน ในหน่วยความจ าหลักเอาไว้ เมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้ามากขึ้น ช่วยให้สามารถใส่Cache เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของ ชิพโปรเซสเซอร์ได้ ซึ่งเรียกว่าon-chip cache

1.3.4. 2.3.4 หน่วยความจ าหลักแบบแก้ไขได้(Random-Access Memory : RAM) คุณลักษณะที่ส าคัญของRAM มีอยู่2 ประการคือ สามารถอ่านหรือบันทึกข้อมูลได้อย่างง่ายดาย และรวดเร็วด้วยการใช้สัญญานไฟฟ้า และเก็บข้อมูลไว้ชั่วคราว RAM ต้องได้รับพลังงานไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลา เมื่อไม่มีพลังงานไฟฟ้าข้อมูลทั้งหมดที่เก็บอยู่ในหน่วยความจ าก็จะหายไปทันที

1.3.5. 2.3.5 หน่วยความจ าหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว(Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยความจ าที่มีคุณสมบัติในการเก็บข้อมูลไว้ได้ตลอดโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้าหล่อเลี้ยง แม้จะ ปิดเครื่องไปแล้วเมื่อเปิดเครื่องใหม่ข้อมูลในรอมก็ยังอยู่เหมือนเดิม

1.3.6. 2.3.6 หน่วยความจ าส ารอง 1) ฮาร์ดดิสก์(Hard disk) ท ามาจากแผ่นโลหะแข็งเรียกว่าPlatters ท าให้เก็บข้อมูลได้มากและ ท างานได้รวดเร็ว ส่วนมากจะถูกยึดติดอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่มีบางรุ่นที่เป็นแบบเคลื่อนย้ายได้ โดย จะเป็นแผ่นแม่เหล็กเพียงแผ่นเดียวอยู่ในกล่องพลาสติกบางๆ สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่1กิกะไบต์ขึ้นไป

1.4. 2.4 หน่วยแสดงผล

1.4.1. เป็นส่วนที่แสดงข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ไปสู่มนุษย์ เราเรียกเครื่องมือในส่วนนี้ว่า อุปกรณ์แสดงผล (Output Devices) สามารถแบ่งออกได้เป็น2 ประเภทตามลักษณะของข้อมูลที่แสดงออกมา ได้แก่ อุปกรณ์แสดงผลที่มนุษย์จับต้องไม่ได้(Softcopy Output Device) หมายถึง อุปกรณ์แสดงข้อมูล ที่มนุษย์ไม่สามารถจับต้องข้อมูลที่แสดงนั้นได้ เช่น ข้อมูลตัวอักษรหรือภาพบนจอภาพ หรือข้อมูลเสียงจาก ล าโพง เรียกข้อมูลประเภทนี้ว่าSoftcopy อุปกรณ์แสดงผลที่มนุษย์จับต้องได้(Hardcopy Output Device) หมายถึง อุปกรณ์แสดงข้อมูลที่ มนุษย์สามารถจับต้องข้อมูลที่แสดงนั้นได้ เช่น ตัวอักษรหรือภาพบนกระดาษ เป็นต้น เราเรียกข้อมูลประเภทนี้ ว่าHardcopy ตัวอย่างอุปกรณ์แสดงผล

1.5. 2.5 เมนบอร์ด

1.5.1. เป็นหัวใจส าคัญที่สุดที่อยู่ภายในเครื่อง เมื่อเปิดฝาเครื่องออกมาจะเป็นแผงวงจรขนาดใหญ่วางอยู่ นั่น คือส่วนที่เรียกว่า"เมนบอร์ด" ส่วนประกอบหลักที่ส าคัญบนเมนบอร์ด คือ

1.5.2. 1) ซ็อคเก็ตซีพียู(CPU socket) หรือสล็อตซีพียู (CPU slot) คือ ฐานรองเพื่อบรรจุซีพียูเข้ากับ แผงวงจรหลักในคอมพิวเตอร์ ซ็อกเก็ตแต่ละรุ่นจะมีลักษณะเฉพาะขึ้นอยู่กับรุ่นของซีพียูที่ออกแบบมาให้ใช้ งานร่วมกัน จึงไม่สามารถน าซีพียูที่ออกแบบมาเพื่อใช้กับซ็อกเก็ตแบบหนึ่งไปใช้กับซ็อกเก็ตแบบอื่นได้

1.5.3. 2) ชิปเซ็ต(Chip set) เป็นองค์ประกอบหลักที่ถูกติดตั้งอย่างถาวรบนเมนบอร์ด ไม่สามารถถอดหรือ เปลี่ยนแปลงได้ชิปเซ็ตมีความส าคัญอย่างมาก เนื่องจากเป็นตัวก าหนดอุปกรณ์อื่นๆ บนเมนบอร์ด เช่น o ก าหนดชนิดของซ็อคเก็ต ซึ่งจะเป็นตัวก าหนดว่าเมนบอร์ดนี้จะใช้กับซีพียูชนิดใดได้บ้าง

2. 3. ซอฟต์แวร์

2.1. 3.1ภาษาคอมพิวเตอร์คือ สื่อกลางส าหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละ ยุคประกอบด้วย 3.1.1 ภาษาเครื่อง (Machine Languages) คือ เลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดค าสั่งและใช้สั่งงาน คอมพิวเตอร์การใช้ภาษาเครื่องถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจ และจดจ าภาษาเครื่องได้ยาก ดังนั้นจึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร 3.1.2 ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแ3.2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ท า หน้าที่ด าเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากคีย์บอร์ดแล้วแปลความหมายให้ คอมพิวเตอร์เข้าใจน าข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือน าออกไปยังเครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลบนหน่วยความจ า ซอฟต์แวร์ระบบยังใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาซอฟต์แวร์อื่น ๆ และยังรวมไปถึงซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการ แปลภาษาต่าง ๆ หน้าที่หลักของซอฟต์แวร์ระบบประกอบด้วย o จัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยแสดงผล เช่น ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้าและแสดงผลอื่น ๆ เป็นต้น o จัดการหน่วยความจ าเพื่อน าข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจ าหลักหรือน าข้อมูลจาก หน่วยความจ าหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก o ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์ให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น

3. 1. องค์ประกอบและหลักการท างานของคอมพิวเตอร์

3.1.  ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่าง ๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์

3.2.  บุคลากร คือ ผู้ใช้งานหรือผู้ที่ท างานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงโปรแกรมเมอร์นักวิเคราะห์ ระบบ และอื่นๆ

3.3.  ฮาร์ดแวร์ คือ ตัวเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ชิ้น รวมถึงอุปกรณ์ภายนอก (Peripheraldevice) อื่นๆ เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องพิมพ์ฮาร์ดดิสก์ แผงวงจรหลัก (Mainboard) แรม การ์ดจอ ซีพียู เป็นต้น

4. 4. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน

4.1. 4.1 หลักการเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน 4.1.1 เลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงาน คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในงานด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานราชการ องค์กรต่างๆและธุรกิจขนาด เล็ก กลาง หรือใหญ่ โดยเลือกใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้น ระบบ คอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ซึ่งได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพจนสามารถตอบสนองความ ต้องการได้ในราคาที่ถูกลง ค่าบ ารุงรักษาต่ า การใช้งานสะดวกขึ้นและมีซอฟต์แวร์ส าเร็จรูปให้เลือกใช้งาน จ านวนมาก จึงมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานด้านต่าง ๆ เช่น การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในวง การศึกษา มีโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เกิดขึ้นเป็นจ านวนมากให้ผู้สนใจได้เลือกศึกษาตาม ความต้องการ ช่วยให้เกิดความเข้าใจในบทเรียนและเป็นการทบทวนความรู้ที่เรียนมาแล้วท าให้เกิดความเข้าใจ มากขึ้น นอกจากนี้สถานศึกษายังสามารถน าคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานด้านต่าง ๆ เช่น งานบุคคล งานการเงิน- บัญชี งานพัสดุงานประชาสัมพันธ์ เป็นต้น 4.1.2 การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อน ามาใช้ในระบบงาน ต้องสามารถรองรับการขยายตัวของระบบ งานในอนาคต เนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาและรวดเร็วมาก สิ่งที่ควรพิจารณา ในการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งาน คือ