1. องค์ประกอบการสื่อสาร
1.1. ผู้ส่งสาร (sender) หรือ แหล่งสาร (source)
1.1.1. บุคคล กลุ่มบุคคล หรือ หน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการส่งสาร หรือเป็นแหล่งกำเนิดสา
1.1.1.1. ผู้พูด ผู้เขียน กวี ศิลปิน นักจัดรายการวิทยุ โฆษกรัฐบาล องค์การ สถาบัน สถานีวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุโทรทัศน์ กองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ หน่วยงานของรัฐ บริษัท สถาบันสื่อมวลชน เป็นต้น
2. ความหมาย
2.1. การถ่ายทอดข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์
3. คุณสมบัติของผู้ส่งสาร
3.1. เป็นผู้ที่มีเจตนาแน่ชัดที่จะให้ผู้อื่นรับรู้จุดประสงค์ของตนในการส่งสาร แสดงความคิดเห็น หรือวิจารณ์
3.1.1. Project specifications
3.1.2. End User requirements
3.1.3. Action points sign-off
3.2. เป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาของสารที่ต้องการจะสื่อออกไปเป็นอย่างดี
3.3. ป็นผู้ที่มีบุคลิกลักษณะที่ดี มีความน่าเชื่อถือ แคล่วคล่องเปิดเผยจริงใจ และมีความรับผิดชอบ ในฐานะเป็นผู้ส่งสาร
3.3.1. Top Priorities
3.3.2. Medium Priorities
3.3.3. Low Priorities
3.4. เป็นผู้ที่สามารถเข้าใจความพร้อมและความสามารถในการรับสารของผู้รับสาร
3.4.1. Top Priorities
3.4.2. Medium Priorities
3.4.3. Low Priorities
3.5. เป็นผู้รู้จักเลือกใช้กลวิธีที่เหมาะสมในการส่งสารหรือนำเสนอสาร
4. วัตถุประสงค์การสื่อสาร
4.1. เพื่อแจ้งให้ทราบ (inform)
4.1.1. แจงข่าวสาร เรื่องราว เหตุการณ์ หรือสิ่งอื่นใดให้ผู้รับสารได้รับทราบ
4.2. เพื่อสอนหรือให้การศึกษา (teach or education)
4.2.1. การถ่ายทอดความรู้จากครูสู่นักเรียน
4.3. เพื่อสร้างความพอใจหรือให้ความบันเทิง (please of entertain)
4.3.1. การพูดการเขรียนกริยาต่างๆ
4.4. เพื่อเสนอหรือชักจูงใจ (Propose or persuade)
4.4.1. การสื่อสารเพื่อให้ข้อเสนอแนะ หรือ ชักจูงใจในสิ่งใดสิ่งหนึ่งต่อผู้รับสาร
4.5. เพื่อเรียนรู้ (learn)
4.5.1. การแสวงหาความรู้ ของผู้รับสาร โดยอาศัยลักษณะของสาร
4.6. เพื่อกระทำหรือตัดสินใจ (dispose or decide)
4.6.1. ทางเลือกในการ ตัดสินใจของเราจึงขึ้นอยู่กับข้อเสนอแนะนั้น