หน่วยที่ 1 เรื่องการจำแนกสาร

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หน่วยที่ 1 เรื่องการจำแนกสาร by Mind Map: หน่วยที่ 1 เรื่องการจำแนกสาร

1. สารประกอบและธาตุ

1.1. สารเนื้อเดียว

1.1.1. สารบริสุทธ์

1.1.1.1. ธาตุ

1.1.1.1.1. โลหะ

1.1.1.1.2. อโลหะ

1.1.1.1.3. กึ่งโลหะ

1.1.1.1.4. ธาตุกัมมันตรังสี

1.1.1.2. สารประกอบ

1.1.1.2.1. คือสารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยธาตุสองชนิดขึ้นไป

1.1.2. สารละลาย

1.1.2.1. คือสารประกอบรวมกับสารประกอบหรือรวมกับธาตุสองชนิดขึ้นไปมีอนุภาคเล็กกว่า 0.0000001 cm

1.2. สารเนื้อผสม

1.2.1. สารแขวนลอย

1.2.1.1. สารผสมที่มีอนุภาคใหญ่กว่า 0.0001 cm

1.2.2. สารคอลลอยด์

1.2.2.1. สารผสมที่มีอนุภาคประมาณ 0.0000001 - 0.0001 cm

2. การแยกสาร

2.1. การแยกสารเนื้อเดียว

2.1.1. การระเหยแห้ง

2.1.1.1. คือการแยกของแข็งออกจากของเหลวซึ่งของแข็งอาจละลายในของเหลวหรือไม่ก็ได้

2.1.2. การตกผลึก

2.1.2.1. เป็นการแยกของแข็งออกจากสารละลายที่มีตัวทำละลายหลายชนิดปนกัน

2.1.3. การกลั่น

2.1.3.1. การกลั่นแบบธรรมดา

2.1.3.1.1. เป็นวิธีแยกสารที่มีจุดเดือดต่างกันมาก

2.1.3.2. การกลั่นแบบลำดับส่วน

2.1.3.2.1. เป็นการแยกสารที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกัน

2.1.3.3. การกลั่นด้วยไอน้ำ

2.1.3.3.1. เป็นการแยกสารที่ไม่ละลายน้ำ นิยมใช้สกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืช

2.1.4. การโครมาโทกราฟี

2.1.4.1. ใช้แยกองค์ประกอบของสารที่มีปริมาณน้อย เช่น สี เป็นต้น

2.2. การแยกสารเนื้อผสม

2.2.1. การกรอง

2.2.1.1. เป็นการแยกของแข็งกับของเหลวซึ่งของแข็งต้องมีอนุภาคใหญ่กว่าวัสดุที่ใช้กรองและของเหลวต้องมีอนุภาคน้อยกว่าวัสดุที่ใช้กรอง

2.2.2. การใช้กรวยแยก

2.2.2.1. เป็นการแยกของเหลวกับของเหลวซึ่งไม่ละลายเป็นเนื้อเดียวกัน(อิมัลชั่น)

2.2.3. การใช้แม่เหล็ก

2.2.3.1. เป็นการใช้อำนาจแม่เหล็กดูดผงเหล็กออกจากของผสม

2.2.4. การระเหิด

2.2.4.1. เป็นการแยกของแข็งกับของแข็งซึ่งสารหนึ่งต้องระเหยได้และเหลืออีกสารหนึ่งไว้

2.2.5. การตกตะกอน

2.2.5.1. เป็นการแยกของแข็งกับของเหลวซึ่งเป็นสารแขวนลอยเพื่อให้ตกตะกอนไว้แล้วค่อยแยกออก

2.2.6. การใช้มือหยิบออก

2.2.6.1. เป็นการแยกสารที่มีขนาดใหญ่พอที่สามารถหยิบออกได้