แนวคิด ทฤษฎี การบริหารและหลักการบริหาร

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
แนวคิด ทฤษฎี การบริหารและหลักการบริหาร by Mind Map: แนวคิด ทฤษฎี การบริหารและหลักการบริหาร

1. กลยุทธ์การบริหารงาน แบบญี่ปุ่น (Kaizen)

1.1. เป็นแนวคิดท่ีมุ่งปรับปรุงวิธีการส่วนร่วม ของพนักงานทกุคนบุคลากรทุกระดับร่วมกัน ทั้งฝ่ายบริหารและฝ่ายปฏิบัติ

1.2. กลยุทธ์หลัก Kaizen

1.2.1. 1. รายการตรวจสอบ 3-Mu’s ระบบตรวจสอบเพื่อเป็นแนวทางช่วย ผู้บริหาร และพนักงานช่วยกันแก้ไขปรับปรุงงานอยู่เสมอ ประกอบด้วย (Muda) คือ ความสูญเปล่า (Muri) คือความตึง (Mura)

1.2.2. 2. หลักการ 5ส สะสาง (Seiri) สะดวก (Seiton) สะอาด (Seiso) สุขลักษณะ (Seiketsu) สร้างวินัย (Shitsuke)

1.2.3. 3. หลักการ 5 W 1H Who ใครเป็นผู้ทำ what ทำอะไร Where ทำท่ีไหน When ทำเมื่อไร Why ทำไมต้องทำอย่างนั้น How ทำอย่างไร

1.2.4. 4. รายการตรวจสอบ 4M

1.3. ระบบสาคัญ

1.3.1. 1. การควบคุมคุณภาพและการบริหารคุณภาพทั้งระบบ

1.3.2. 2. ระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี

1.3.3. 3. การบำรุงรักษาทวีผล

1.3.4. 4. ระบบข้อเสนอแนะ

1.3.5. 5. กิจกรรมกลุ่มย่อย

2. หลักการและแนวคิด ของ POSDCoRB

2.1. หน้าท่ี และบทบาท การบริหารของผู้มีอำนาจ

2.1.1. P- Planning การวางแผน

2.1.2. O-Organizing การจัดองค์การ

2.1.3. S-Staffing การจัดการเกี่ยวกับตัว บุคคลในองค์

2.1.4. D - Directing การอำนวยงาน

2.1.5. Co - Coordinating การประสานงาน

2.1.6. R - Reporting การรายงาน

2.1.7. B - Budgeting การงบประมาณ

3. The Malcom Baldrige National Quality Award (MBNQA)

3.1. รางวัล MBNQA นี้ช่วยให้มีการปรับปรุงคุณภาพและผลผลิต

3.1.1. 1. ช่วยกระตุ้นบริษัทอเมริกันให้ปรับปรุงคุณภาพ และผลผลิตเพื่อความภาคภูมิใจท่ีสามารถก้าวมา ข้างหน้าได้ และได้กำไรเพิ่มขึ้น

3.1.2. 2. เป็นการรับรู้ความสาเร็จของบริษัท ท่ีสามารถปรับปรุงคุณภาพ ของผลผลิต และบริการเป็นตัวอย่างให้กับผู้อื่น

3.1.3. 3. วางแนวทางและหลักเกณฑ์ ซึ่งสามารถใช้ได้กับธุรกิจ อุตสาหกรรม รัฐบาล และองค์กรอื่นๆ

3.1.4. 4. ให้แนวทางท่ีชัดเจนสำหรับองค์กร อเมริกันอื่นๆ ซึ่งต้องการเรียนรู้ วิธีการบริหาร ไปสู่คุณภาพ

3.2. เกณฑ์คุณภาพ “Malcolm Baldrige”

3.2.1. 1. การนาองค์กร – Leadership ทุกระดับเป็นอย่างไร

3.2.2. 2. การวางแผนกลยุทธ์ - นำไปสู่การปฏิบัติอย่างไร

3.2.3. 3. การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด - นำความต้องการของลูกค้ามาวิเคราะห์

3.2.4. 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

3.2.5. 5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล

3.2.6. 6. การจัดการกระบวนการ

3.2.7. 7. ผลลัพธ์ทางธุรกิจ

4. รูปแบบการประกันคุณภาพ

4.1. ระบบ IPO

4.1.1. ปัจจัยนำเข้า (Input)

4.1.1.1. ทรัพยากรคน (อาจารย์ นศ. ผู้บริหาร บุคลากร) ทรัพยากรเงิน สภาพแวดล้อม เครื่องมืออุปกรณ์ นโยบาย หลักสูตร แผน ปัจจัยเกือ้ หนุน

4.1.2. กระบวนการ (Process)

4.1.2.1. กระบวนการบริหาร จัดการ กระบวนการเรียนการสอน กระบวนการวิจัย กระบวนการให้บริการ

4.1.3. ปัจจัยผลผลิต (Output)

4.1.3.1. ปริมาณบัณฑิต คุณภาพบัณฑิต บริการต่าง ๆ ศรัทธา/ความพึงพอใจของประชาชน

4.2. ระบบ ISO

4.2.1. ISO 9000 คือการจัดระบบการบริหารเพื่อประกันคุณภาพ ท่ีสามารถตรวจสอบได้ โดยผ่านระบบ เอกสาร

4.2.2. ISO 9001 กำกับดูแลทั้งการออกแบบ และพัฒนาการผลิต การติดตั้ง และการบริการ *นำมาปรับใช้ สถาบันอุดมศึกษาต้องศึกษา

4.2.2.1. 1.ความรับผิดชอบด้านการบริหาร

4.2.2.2. 2.ระบบคุณภาพ

4.2.2.3. 3.การทบทวนข้อตกลง

4.2.2.4. 4.การควบคุมการออกแบบ

4.2.2.5. 5.การควบคุมเอกสาร

4.2.2.6. 6.การจัดซื้อ

4.2.2.7. 7.ผลิตภัณฑ์ท่ีส่งมอบโดยผู้ซื้อ

4.2.2.8. 8.การบงชี้และการสอบกลับได้ของสินค้า

4.2.2.9. 9.การควบคุมกระบวนการ

4.2.2.10. 10.การตรวจและการทดสอบ

4.2.2.11. 11.เครื่องตรวจ เครื่องวัด และเครื่องทดสอบ

4.2.2.12. 12.สถานะการตรวจ และการทดสอบ

4.2.2.13. 13.การควบคุมผลิตภัณฑ์ท่ีไม่เป็นไปตามข้อกาหนด

4.2.2.14. 14.การปฏิบัติการแก้ไข

4.2.2.15. 15.การเคลื่อนย้าย การเก็บการบรรจุและการส่งมอบ

4.2.2.16. 16.บันทึกคุณภาพ

4.2.2.17. 17.การตรวจติดตามควบคุมภายใน

4.2.2.18. 18.การฝึ กอบรม

4.2.2.19. 19.การบริการ

4.2.2.20. 20.กลวิธีทางสถิติ ข้อมูลเพิ่มเติม

4.2.3. ISO 9002 กำกับดูแลเฉพาะการผลิต การติดตั้ง และการบริการ

4.2.4. ISO 9003 กำกับดูแลเรื่องการตรวจ และการทดสอบขั้น สุดท้าย

4.2.5. ISO 9004 เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยเป็นข้อแนะนำ ในการจัดการในระบบคุณภาพ

4.2.6. ISO 14000 มุ่งเน้นให้องค์กรมีการพัฒนาปรับปรุง สิ่งแวดล้อม อย่างต่อเนื่อง

4.2.7. ISO 18000 มาตรฐานระบบการจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

4.3. Amicable Assessment Model (AAM)

4.3.1. 1.ส่งเสริมและพัฒนา คือ การสร้างเจตคติที่ดีต่อการประกันคุณภาพการศึกษา

4.3.2. 2.สร้างศรัทธาต่อหมอโรงเรียน คือ การพัฒนาเพื่อให้สภานศึกษาเกิดศรัทธาและไว้วางใจต่อผู้ประเมินภายนอก

4.3.3. 3.การประเมินอย่างกัลยาณมิตร คือ การประเมินสภาพจริงเพื่อยืนยันผลประเมิน

4.3.4. 4.ชี้ทิศและเสริมแรงพัฒนา คือ การรายงานผลการประเมินอย่างตรงไปตรงมา

5. ทฤษฎีเอ็กซ์และทฤษฎีวาย

5.1. 1. ทฤษฎี X

5.1.1. คนโดยทัว่ ไปเกียจคร้าน ชอบเล่ียงงาน

5.1.2. ขาดความกระตือรือร้น ไม่มีความรับชอบปรารถนา ท่ีจะเป็นผู้

5.1.3. ตามมากกว่า

5.1.4. เห็นแก่ตัว เพิกเฉยต่อความต้องการขององค์การ - ไม่ฉลาด

5.2. 2. ทฤษฎี Y

5.2.1. คนชอบทางาน ไม่ได้เป็นคนเกียจคร้าน

5.2.2. การควบคุมภายนอก ไม่ใช่เป็นวิถีทางท่ีจะได้มาซ่ึงงาน คน

5.2.3. สามารถท่ีจะหาแนวทางและควบคุมตนเองได้

5.2.4. ความพึงพอใจท่ีได้ปฏิบัติงานเข้ามาตามศกั ยภาพ เป็นรางวัลท่ีมี

5.2.5. ความสาคัญท่ีจะทาให้คนมีความผูกพันอยู่กับองค์การ

5.2.6. คนโดยทัว่ ไปจะเรียนรู้เพื่อแสวงหาความรับผิดชอบต่อไป

5.2.7. คนส่วนใหญ่อาศยั ภาวะสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหาในองค์การ

5.2.8. ในปัจจุบันศกั ยภาพของคนยังไม่ได้รับการนาไปใช้

6. การบริหารคุณภาพการศึกษา แบบ SBM (ใช้โรงเรียนเป็นฐาน)

6.1. สถานศึกษามีอำนาจอิสระในการดำเนินงาน โดยมีคณะกรรมการสถานศึกษาทำหน้าที่กำกับและสนับสนุน

6.2. หลักการ

6.2.1. 1. หลักการกระจายอำนาจ

6.2.2. 2. หลักการมีส่วนร่วม

6.2.3. 3. หลักการคืนอำนาจจัดการศึกษาให้ประชาชน

6.2.4. 4. หลักการบริหารตนเอง

6.2.5. 5. หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล

6.3. รูปแบบการบริหาร

6.3.1. 1. รูปแบบที่มีผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก

6.3.2. 2. รูปแบบที่มีครูเป็นหลัก

6.3.3. 3. รูปแบบที่ชุมชนมีบทบาทหลัก

6.3.4. 4. รูปแบบที่ครูและชุมชนมีบทบาทหลัก

7. ทฤษฎีการบริหาร แบบTQM

7.1. การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องนี้ถือว่าเป็นกระบวนการที่ไม่จบสิ้น หยุดการพึ่งพาการตรวจสอบคุณภาพคราวละมาก และใช้ตัวเลขสถิติยืนยัน

7.1.1. T (Total) การยินยอมให้ทุกคนปฏิบัติงานอยู่ภายในองค์การได้เข้ามามีส่วนร่วม

7.1.2. Q (Quality) การสร้างความพึงพอใจของลูกค้าต่อการใช้ประโยชน์ จากสินค้าและบริการเป็นหลัก มีส่วนเก่ียวข้องกับแนวความคิดเชิงระบบของการจัดการอย่างเป็นระบบท่ีต่อเนื่อง

7.1.3. M (Management) ระบบของการจัดการหรือบริหารคุณภาพขององค์การซึ่งดำเนินการ และควบคุมด้วยระดับผู้บริหารสูงสุดท่ีจะปรับปรุงและพัฒนาระบบคุณภาพ ขององค์การอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง

8. แนวคิด Balanced Scorecard

8.1. การจัดการเป็นการใช้ทรัพยากร ใหเ้กิดประโยชน์สูงสดุ ทรัพยากร = 4M

8.1.1. 1. Man หรือ คน = การบริหารกำลังคน

8.1.2. 2. Money หรือ เงิน = การบริหารเงิน จะจัดสรรค์เงิน

8.1.3. 3. Materials หรือ วัตถุดิบ = การบริหารวัสดุในการดำเนินงาน

8.1.4. 4.Management หรือ การจดัการ = กระบวนการจัดการบริหารควบคุม

8.2. การบริหารในศาสตร์สมัยใหม่ การบริหารด้านต่างๆ (9 M)

8.2.1. 1. การบริหารคน (Man)

8.2.2. 2. การบริหารเงิน (Money)

8.2.3. 3.การบริหารวัสดุอุปกรณ์ (Material)

8.2.4. 4. การบริหารงานทัว่ ไป (Management)

8.2.5. 5.การบริหารการให้บริการประชาชน (Market)

8.2.6. 6.การบริหารคุณธรรม (Morality)

8.2.7. 7. การบริหารข้อมูลข่าวสาร (Message)

8.2.8. 8. การบริหารเวลา (Minute)

8.2.9. 9. การบริหารการวัดผล (Measurement)

8.3. 11M

8.3.1. 1. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Man)

8.3.2. 2. การบริหารงบประมาณ (Money)

8.3.3. 3. การบริหารงานทัว่ ไป (Management)

8.3.4. 4. การบริหารวัสดุอุปกรณ์ (Material)

8.3.5. 5. การให้บริการประชาชน (Market)

8.3.6. 6. การบริหารคุณธรรม (Morality)

8.3.7. 7. การบริหารข่าวสารหรือข้อมูลข่าวสาร (Message)

8.3.8. 8. วิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค (Method)

8.3.9. 9. การบริหารเวลาหรือกรอบเวลาท่ีใช้ในการปฏิบัติงาน (Minute)

8.3.10. 10. การประสานงานหรือการประนีประนอม (Mediation)

8.3.11. 11. การวัดผลหรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Measurement)

9. แนวคิดการบริหารแบบ six sigma

9.1. ขั้นท่ี 1 การกาหนดปัญหา (D : Define)

9.2. ขั้นท่ี 2 การจัด (M : Measurement)

9.3. ขั้นท่ี 3 วิเคราะห์ (A : Analysis)

9.4. ขั้นท่ี 4 การปรับปรุง (I : Improve)

9.5. ขั้นท่ี 5 การควบคุม (C : Control)

10. ระบบ CIPOI

10.1. การประเมินตามด้านต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง 5 ด้าน

10.1.1. ด้นบริบท

10.1.2. ด้านปัจจัยนาเข้า

10.1.3. ด้านการดาเนินการ

10.1.4. ด้านผลผลิต

10.1.5. ด้านผลกระทบ