การสื่อสารข้อมูลสำหรับ เครือข่ายคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การสื่อสารข้อมูลสำหรับ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ by Mind Map: การสื่อสารข้อมูลสำหรับ เครือข่ายคอมพิวเตอร์

1. 1. ความหมายของการสื่อสารข้อมูล

1.1. การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีตัวกลาง

2. 2. องค์ประกอบของระบบการสื่อสาร

2.1. 1. ผู้ส่ง (Sender)

2.1.1. เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมีหน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล

2.1.2. เช่น

2.1.2.1. ผู้พูด

2.1.2.2. โทรทัศน์

2.1.2.3. กล้องวิดีโอ

2.2. 2. ผู้รับ (Receiver)

2.2.1. เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้

2.2.2. เช่น

2.2.2.1. ผู้ฟัง

2.2.2.2. เครื่องรับโทรทัศน์

2.2.2.3. เครื่องพิมพ์

2.3. 3. สื่อกลาง (Medium)

2.3.1. เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง สื่อส่งข้อมูลอาจเป็น

2.3.1.1. สายคู่บิดเกลียว

2.3.1.2. สายโคแอกเชียล

2.3.1.3. สายใยแก้วนำแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ

2.3.2. เช่น

2.3.2.1. เลเซอร์

2.3.2.2. คลื่นไมโครเวฟ

2.3.2.3. คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุผ่านดาวเทียม

2.4. 4. ข้อมูลข่าวสาร (Message)

2.4.1. สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูกเรียกว่า สารสนเทศ (Information)

2.4.2. 1 ข้อความ (Text)

2.4.2.1. ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่าง ๆ

2.4.2.2. เช่น

2.4.2.2.1. รหัสแอสกี

2.4.3. 2 ตัวเลข (Number)

2.4.3.1. ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลงเป็นเลขฐานสองโดยตรง

2.4.4. 3 รูปภาพ (Images)

2.4.4.1. ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาดของรูปภาพ

2.4.5. 4 เสียง (Audio)

2.4.5.1. ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเป็นสัญญาณต่อเนื่องกันไป

2.4.6. 5 วิดีโอ (Video)

2.4.6.1. ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป

2.5. 5. โปรโตคอล (Protocol)

2.5.1. วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถเข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่ง

2.5.2. เช่น

2.5.2.1. X.25

2.5.2.2. SDLC

2.5.2.3. HDLC

2.5.2.4. TCP/IP

3. 3. เครือข่ายคอมพิวเตอร์

3.1. การเชื่อมโยงระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป เพื่อให้สามารถสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูล รวมทั้งสามารถใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ภายในเครือข่ายร่วมกันได้

3.2. เช่น

3.2.1. ฮาร์ดดิสก์

3.2.2. เครื่องพิมพ์

4. 4. อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบสื่อสารข้อมูล

4.1. 1. ฮับ (hub)

4.1.1. เป็นอุปกรณ์ที่ทวนและขยายสัญญาณเพื่อส่งต่อไปยังอุปกรณ์อื่นให้ได้ระยะทางที่ยาวไกลขึ้นไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลก่อนและหลังการรับส่งและไม่มีการใช้ซอฟแวร์ใด ๆ มาเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ชนิดนี้ การติดตั้งทำได้ง่าย

4.2. 2. โมเด็ม (modem)

4.2.1. เป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณอนาล็อก(Analog signal)ให้เป็นสัญญาณดิจิทัล (Digital Signal)และในทางกลับกันก็แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็นสัญญาณอนาล็อก

4.3. 3. การ์ด LAN (Network Interface Card – NIC)

4.3.1. เป็นการ์ดสำหรับต่อเครื่องพีซีเข้ากับสาย LAN

4.4. 4. สวิตช์ (Switching)

4.4.1. เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่กระจายช่องทางการสื่อสารข้อมูลหลายช่องทางการสื่อสารข้อมูลหลายช่องทางในระบบเครือข่ายคล้ายHubแต่ต่างกันในเรื่องของกรทำงานและความเร็ว คือ แต่ละช่องสัญญาณ (port) จะใช้ความเร็วเป็นอิสระต่อกันตามมาตรฐานความเร็ว

4.5. 5. เราท์เตอร์ (router)

4.5.1. เป็นอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงให้เครือข่ายหลายเครือข่ายที่มีขนาดต่างกันหรือใช้มาตรฐานการส่งผ่านข้อมูล (Transmission) ต่างกันสามารถติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้

5. 5. การสื่อสารข้อมูลที่ดี

5.1. ความถูกต้องของข้อมูล

5.2. ความสมบูรณ์ครบถ้วนในการนำไปใช้งาน

5.3. ความถูกต้องตามเวลา

5.4. ความสอดคล้องกันของข้อมูล

6. ที่มา : องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล